โรคต่อมน้ำเหลืองในเด็ก อันตรายแค่ไหน?
โรคต่อมน้ำเหลืองในเด็ก

โรคต่อมน้ำเหลืองในเด็ก อันตรายแค่ไหน?

Alternative Textaccount_circle
event
โรคต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
โรคต่อมน้ำเหลืองในเด็ก

การรักษาโรคต่อมน้ำเหลือง

การรักษาจะรักษาจากสาเหตุ เช่น หยุดยาที่ทำให้เกิดโรค การรักษาฟันผุ การรักษาแผลต่างๆ การใช้ยาปฏิชีวนะ การรักษาเชื้อวัณโรค การรักษาโรคมะเร็ง และการรักษาประคับประคองอาการ เช่น ให้ทานยาแก้ปวด ถ้าต่อมน้ำเหลืองอักเสบเป็นหนอง ควรได้รับการผ่าตัด และติดตามการรักษาโดยการดูแลของแพทย์

ยาที่ใช้ในการรักษาชื่อ Diethylcarbamazine citrate (DEC) เป็นยารักษาโรคเท้าช้างมานานกว่า 40 ปี

ผลข้างเคียงของยาคือ อาจทำให้อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ ง่วงนอน เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน

ผู้ที่ห้ามกินยานี้ ได้แก่ เด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือน คุณแม่ตั้งครรภ์ และผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น โรคตับอักเสบ ไตวาย

banner300x250

การดูแลเมื่อเป็นโรคต่อมน้ำเหลือง

1.รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน ทำความสะอาดต่อมน้ำเหลืองส่วนนั้น ไม่คลำบ่อย ไม่เกา เพราะเพิ่มการติดเชื้อ

2.รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ และออกกำลังอายตามสมควร ตัดเล็บมือ เล็กเท้าให้สะอาด

3.ดูแลตามสาเหตุของโรค ควรปรึกษาแพทย์เพื่อขอคำแนะนำ เรื่องการกินยาในเด็กทารก เด็กเล็ก แม่ท้อง

โรคต่อมน้ำเหลืองในเด็ก

การป้องกันโรคต่อมน้ำเหลือง

1.ดูแลร่างกายให้แข็งแรง รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ้วน

2.รักษาสุขภาพช่องปากและฟัน พบแพทย์ทุก 6 เดือน หรือตามที่นัด รักษาผิวหนังให้สะอาด ไม่ให้ติดเชื้อ

3.ตัดเล็บอยู่เสมอ และไม่ใช้ยาโดยไม่จำเป็น

เครดิต: แหล่งรวบรวมคุณแม่ตั้งครรภ์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้(mom), หาหมอ.com, โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

Save

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up