ผลสำรวจอาหารที่เต็มไปด้วยโซเดียม ได้แก่
- ซุปก้อน ผงปรุงรส 10 กรัม ต่ำสุด 1,000 สูงสุด 2,000 เฉลี่ย 1,440 มิลลิกรัม
- น้ำปลา 15 กรัม ต่ำสุด 770 สูงสุด 1,620 เฉลี่ย 1,230 มิลลิกรัม
- ซีอิ้ว 15 กรัม ต่ำสุด 560 สูงสุด 1,600 เฉลี่ย 1,095 มิลลิกรัม
- มันฝรั่งทอดหรืออบ 30 กรัม ต่ำสุด 55 สูงสุด 786 เฉลี่ย 160 มิลลิกรัม
- ข้าวเกรียบ 30 กรัม ต่ำสุด 29 สูงสุด 1,048 เฉลี่ย 210 มิลลิกรัม
- ข้าวโพดอบกรอบ 30 กรัม ต่ำสุด 20 สูงสุด 500 เฉลี่ย 160 มิลลิกรัม
- แครกเกอร์ 30 กรัม ต่ำสุด 15 สูงสุด 500 เฉลี่ย 140 มิลลิกรัม
และนอกจากนี้นะคะ ยังได้ทำการสำรวจโซเดียมในเมนูอาหารไทย พบว่า อาหารแต่ละชนิดนั้น มีโซเดียมต่อหน่วยดังนี้
- แกงเขียวหวาน 625 มิลลิกรัม
- แกงส้ม 850 มิลลิกรัม
- แกงเลียง 600 มิลลิกรัม
- ต้มข่าไก่ 700 มิลลิกรัม
- ต้มยำกุ้ง 1,000 มิลลิกรัม
- น้ำพริกกะปิและผัก 650 มิลลิกรัม
- น้ำพริกมะขามและผัก 625 มิลลิกรัม
- ห่อหมอใบยอ 400 มิลลิกรัม
- ผัดเผ็ดปลาดุก 750 มิลลิกรัม
- ยำถั่วพู 450 มิลลิกรัม
- ทอดมันปลา 650 มิลลิกรัม
- น้ำจิ้ม 6 ชนิด ในปริมาณ 1 ช้อนโต้ะหรือ 15 กรัม ยกตัวอย่างเช่น
- น้ำจิ้มข้าวมันไก่ 331 มิลลิกรัม
- น้ำจิ้มสุกี้ 277 มิลลิกรัม
- น้ำจิ้มหมูสะเต๊ะ 139 มิลลิกรัม
- น้ำจิ้มข้าวหมกไก่ 377 มิลลิกรัม
- น้ำจิ้มกุยฉ่าย 428 มิลลิกรัม
- น้ำจิ้มข้าวหมกไก่ 377 มิลลิกรัม
- น้ำข้าวราดหมูแดง 200 มิลลิกรัม
เป็นต้น