โภชนาการสำหรับเด็ก บทความและคำแนะนำเกี่ยวกับโภชนาการสำหรับเด็ก

4 เมนูกล้วยๆ ทำเองง่าย ลูกน้อยได้ประโยชน์

การให้ลูกรับประทานกล้วยเป็นประจำทุกวัน จะช่วยให้ไม่ท้องผูก แต่กล้วยแบบเดิมๆ อาจทำให้ลูกเบื่อ เพราะความซ้ำซากจำเจ แม่น้องเล็กจึงมี เมนูกล้วยๆ ทำเองง่าย มาฝาก

บะหมี่ผักน้ำข้นกับปูอัด (1 ขวบ++)

ตอนนี้คุณแม่มีตัวช่วยให้ลูกกินผักได้มากขึ้นด้วยบะหมี่ผักอบแห้งที่หาซื้อได้ทั่วไปตามซูปเปอร์มาร์เก็ต

ปังหรรษา (2 ขวบ++)

แซนวิชไส้มันเทศอุดมคุณค่าแถมเป็นแหล่งพลังงานที่ดีสำหรับลูกวัยเตาะแตะ ถ้าผสมกับไอเดียดีๆ ของคุณแม่ รับรองคุณลูกกินหมดไม่เหลือแน่นอน

ไข่ม้วนตับ (1 ขวบ++)

ไข่ม้วนสไตล์ใหม่ ที่เพิ่มคุณประโยชน์จากธาตุเหล็ก ให้เด็กทานง่าย เเละอร่อย

ไข่ไดโนเสาร์ (2 ขวบ++)

ไข่ไดโนเสาร์ (2 ขวบ++)                                     เวลาปรุง 30 นาที (ส่วนผสมสำหรับ 3 ที่) อะโวคาโด                              3              ลูก กะทิ                                        100         มิลลิลิตร น้ำเปล่า                                  200          มิลลิลิตร น้ำตาลทราย                          3              ช้อนโต๊ะ ผงวุ้น                                      1              ช้อนชา   วิธีทำ นำผงวุ้นใส่รวมกับกะทิ และน้ำเปล่า ตั้งไฟคนจนกระทั่งผงวุ้นละลาย จึงใส่น้ำตาล คนให้ละลายเข้ากัน ปิดไฟ ขูดเนื้ออะโวคาโดโดยใช้ช้อนเป็นชิ้นพอคำ นำไปใส่ในน้ำกะทิ นำไปหยอดใส่พิมพ์รูปต่างๆ ตามชอบ แล้วจึงแช่เย็นช่องธรรมดาจนเซ็ตตัว   บทความโดย : กองบรรณาธิการเรียลพาเรนติ้ง

แก้วตาดวงใจ (1 ขวบ++)

แก้วตาดวงใจ (1 ขวบ++)                                      เวลาปรุง 20 นาที (ส่วนผสมสำหรับ 2 ที่) มะละกอ (บด)                       6              ช้อนโต๊ะ นมที่ลูกดื่ม                             250         มิลลิลิตร สาคู (เม็ดเล็ก)                       2             ช้อนโต๊ะ   วิธีทำ นำสาคูไปล้างก่อน แล้วนำมาต้มในน้ำเปล่า เมื่อเดือดให้ปิดไฟแล้วทิ้งไว้ซักพัก สาคูจะสุกทั่วกันดี นำนมกับสาคูมารวมกันแล้วราดบนมะละกอบด พร้อมเสิร์ฟ   บทความโดย : กองบรรณาธิการเรียลพาเรนติ้ง

ที่บ้านของเรา คือต้นแบบมารยาทบนโต๊ะอาหารของลูก

ในเด็กวัยประถมต้น 5 – 8 ขวบ หากจะเริ่มสอนว่า “กินให้เป็นที่เป็นทางนะลูก” ถือว่าช้าไปเสียหน่อย เพราะพฤติกรรมบนโต๊ะอาหารของเด็กถูกปลูกฝังจากบรรยากาศการรับประทานอาหารในบ้านมาตั้งแต่เล็กอย่างที่คุณไม่รู้ตัว เห็นมาแบบไหน กินแบบนั้น เด็กเรียนรู้ทักษะทางสังคมผ่านการสังเกตพฤติกรรมของพ่อแม่ และการควบคุมให้ลูกมีพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในช่วงที่ผ่านมา ถ้าครอบครัวของเรานั่งกินข้าวเป็นที่เป็นทาง เด็กก็จะนั่งกินแบบนั้น ถ้าพ่อแม่ไม่กินข้าวเสียงดัง เด็กก็จะไม่ทำเสียงดัง แต่พฤติกรรมทุกอย่างนอกจากจะสอนกันได้ด้วยคำพูดและเหตุผลแล้วพ่อแม่ยังต้องกำกับให้เด็กปฏิบัติตามเหตุผลที่รับรู้นั้นไปพร้อมกันด้วย เพราะฉะนั้นเราต้องมีทักษะหาวิธีที่สร้างเด็กอย่างที่เราอยากให้เป็น จริงๆ แล้วหนูไม่ได้ตั้งใจจะสร้างเสียงดัง สาเหตุเกิดจากเด็กในวัยนี้ไม่ทราบว่า ความเหมาะความควรอยู่ตรงไหน ใช้คำพูดและเหตุผล ใช้ตัวช่วย วิธีแก้ไขที่ถูกต้อง พูดคุยกับลูกเพื่อประเมินทำไมทำเสียงดังเป็นเพราะเล่นสนุก หรือจับไม่ถนัด เปลี่ยนภาชนะกินข้าวของลูกเสียใหม่ ใช้พลาสติกน้ำหนักเบา ตกไม่แตก วิธีแก้ไขที่ผิด ดุด่าลูก เช่น “บอกกี่ครั้งแล้วทำไมยังทำไม่ได้สักที” คิดว่าใช้ภาชนะหนักๆ เช่น พวกจานกระเบื้อง สแตนเลส ใช้ฝึกเด็กกินข้าวได้   ไม่รู้ตัวว่าเคี้ยวข้าวเห็นฟัน สาเหตุเกิดจากเด็กไม่ทราบว่ามันไม่เหมาะสมอย่างไร ใช้คำพูดและเหตุผล ใช้ตัวช่วย วิธีแก้ไขที่ถูกต้อง บอกลูกว่าเป็นพฤติกรรมที่ดูไม่ดีเวลากินอาหาร   ให้สอนอย่างมีเทคนิคและให้คำชมเป็นแรงเสริมว่า “เก่งมากเลยจ้าที่ลูกปิดปากเวลาเคี้ยว” เมื่อลูกทำได้อย่างเหมาะสม นำกระจกมาตั้งให้ลูกดูท่าทางการเคี้ยวของตัวเอง ครั้งต่อไปหากลูกเผลอ บอกลูกว่า “เอาอย่างนี้นะลูก […]

โจ๊กข้าวกล้องไก่บ้านกับผักสีรุ้ง (1 ขวบ++)

“เมนูใหม่ สดใส น่าทาน กับ โจ๊กข้าวกล้องไก่บ้านกับผักสีรุ้ง”

แซนวิชปลาย่าง กับน้ำสลัดฟักทอง (2 ขวบ++ )

“แซนวิชสอดไส้ปลาย่าง กินกับน้ำสลัดฟักทอง กลิ่นหอมๆ มากับรสชาติอร่อยๆ”

ข้าวกล้องตะลุยสวน (2 ขวบ++)

“ข้าวกล้องออร์แกนิกหุงสุก ใส่ผักหลายชนิด ปรุงรสอ่อนๆ ถูกใจเด็กๆ”

ดวงใจในกลางสวน (1 ขวบ++)

“ไข่ดาวรูปหัวใจ เด็กคนไหนก็ว่าน่ารัก รายล้อมด้วยผักสีสันน่าทาน”

นมทางเลือกสำหรับเด็กแพ้นมวัว

ถึงแม้ลูกน้อยจะแพ้นมวัว แต่คุณแม่ไม่ต้องเป็นกังวลว่าลูกไม่ได้ดื่มนมวัวแล้วจะไม่ได้รับสารอาหารเพียงพอนะคะ เพราะยังมีอาหารอื่นที่ให้สารอาหารอย่างในนมวัวแต่มีโอกาสเสี่ยงแพ้น้อยกว่า

แพ้นมวัว…ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด

เด็กแพ้นมวัวจะมีอาการหลากหลาย ความรุนแรงต่างกัน บางคนเป็นไม่เยอะไม่นานก็หาย บางคนแพ้นานจนโต หรือแพ้แบบรุนแรงอันตรายถึงชีวิตก็มี แต่เหล่านี้สามารถตรวจพบและเฝ้าระวังได้ไม่ยากเลยค่ะ

พาสต้าซูชิ (1 ขวบ+)

หากลูกของคุณชอบกินทั้งพาสต้า และซูชิ เมนูนี้คุณแม่ห้ามพลาด

Pumpkin Montblanc Cake (2 ขวบ++)

“เปลี่ยนมื้อหลักจากฟักทองเป็นเค้กฟักทอง เพิ่มความหลากหลายที่จะทำให้ลูกน้อยเจริญอาหาร”

ถุงซานต้าคลอส (2 ขวบ+)

ถุงซานต้าสารพัดประโยชน์ที่จะทำให้เด็กๆ กินได้มากขึ้น จนคุณแม่หมดกังวล

Easy Muffin Oatmeal Blueberry (1 ขวบ++)

“มัฟฟินอร่อยๆ กับวิธีทำง่ายๆจากขนมปังโฮลวีท และบลูเบอร์รี่ ที่จะไม่ทำให้คุณแม่ผิดหวัง”

สโนว์บานาน่า (2 ขวบ++)

“อย่าเสียเวลาเป็นชั่วโมงเพื่อหลอกล่อให้ลูกกินผลไม้ เพียงแค่10นาทีก็พอแล้วที่จะทำให้ลูกของคุณเปลี่ยนไป กับสโนว์บานาน่า”

keyboard_arrow_up