โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

แม่เล่าประสบการณ์! เมื่อลูกเป็นโรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

event
โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ
โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

แต่หมอที่สิงคโปร์ ขอบหยุดเสาอาทิตย์ เจ็บไข้ได้ป่วย ขอให้เป็นวันธรรมดานะค่ะ 😞 และก็โชคดีที่ได้หมอเด็ก เปิดครึ่งวันเสาร์พอดี หลังจากแม่หาข้อมูล เกือบ 2 ชม.

หันไปดูลูกที่นั่งเล่น หัวใจแทบสลาย ปากเริ่มเบี้ยว และหลับตาอีกข้างไม่ได้ รีบพาลูกไปหาหมอทันที… ตาข้างขวา น้ำตาไหลตลอด… น้ำลายก็ย้อย… ในระหว่างอยู่ในรถ มองดูลูกน้ำตาไหล สงสารจับใจ แม่ก็น้ำตาไหลตาม ลูกถาม “ใครทำแม่ร้องไห้?” เราก็ต้องรีบกลืนน้ำตาเข้าไป

สิ่งที่มันอยู่ในหัว คือลูกเราเป็นอะไร. ลูกเราจะพิการไหม จะกลับมาเหมือนเดิมไหม พอไปถึงก็เข้าคิว 4-5 คน ก็ได้ตรวจ หมอวินิจฉัยว่าเป็น โรค Ball palsy คือ ปลายประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ ควรที่จะพบแพทย์ทันที เกิดจากไวรัส (แต่ไม่รู้ไวรัสอะไร ฟังไม่ออก) ต้องใช้สเตียรอยด์รักษา พร้อมกับยาฆ่าเชื้อ อย่าทิ้งไว้นาน เมื่อมันอักเสบจนทำลาย ประสาทส่วนนั้น อาจจะไม่กลับมาเหมือนเดิม … หรือบางคนต้องใช้เวลารักษานานขึ้น…. ส่วนแซนเดอร์ต้องทำกายภาพบำบัดควบคู่

ปล. ดูจากภาพ หลับตาไม่ได้ ปากอีกข้างเคี้ยวไม่ได้ ปิดไม่สนิท ก็จะลำบากทั้งกินและกลืน…เด็กไม่สามารถบอกอาการเราได้ .. ใครที่ลูกยังเล็กลองสังเกตอาการนะค่ะ. .. โรคภัยเดี๋ยวนี้ใกล้ตัวเหลือเกิน. เงินที่หาทุกวันนี้ก็เพื่อป้องกันให้มีชีวิตรอดเนี้ยแหละค่ะ

ขอบคุณเรื่องราวประสบการณ์ดีๆ และภาพ จาก : คุณแม่ Katsara Boochapun

โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ
โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

ลักษณะของโรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

ทั้งนี้สำหรับ โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ หรือ โรคอัมพาตเบลล์ หรือ โรคใบหน้าเบี้ยว/โรคใบหน้าเบี้ยวครึ่งซีก (Bell’s palsy) หมายถึง การที่กล้ามเนื้อใบหน้าข้างหนึ่งอ่อนแรงชั่วคราว เป็นโรคซึ่งเกิดจากการบวม อักเสบของประสาทใบหน้า หรือประสาทฟาเซียลหรือบางคนออกเสียงว่า เฟเซียล (Facial nerve หรือเส้นประสาทสมองเส้นที่ 7,Cranial nerve VII หรือย่อว่า CN VII)

 

โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

หน้าที่ของเส้นประสาทคู่ที่ 7 ประกอบไปด้วย

♦ บังคับการทำงานของกล้ามเนื้อใบหน้า ซึ่งได้แก่ กล้ามเนื้อหน้าผาก รอบตา กล้ามเนื้อมุมปาก
♦ รับความรู้สึกของลิ้น
♦ ควบคุมการหลั่งน้ำลาย และน้ำตา
♦ ควบคุมการได้ยิน

 

 

 

 

 

โดยเป็นเส้นประสาทคู่ คือ มีทั้งด้านซ้ายควบคุมใบหน้าด้านซ้าย และด้านขวาควบคุมใบหน้าด้านขวา ซึ่งเมื่อโรคเป็นชนิดไม่รุนแรง จะก่ออาการน้อย การอักเสบเพียงทำให้เกิดอัมพฤกษ์ของใบหน้าด้านนั้น ….แต่ถ้าเป็นมาก จะก่ออาการอัมพาตของใบหน้าด้านนั้น ทั้งนี้ โดยทั่วไป มักเกิดโรคกับประสาทเพียงด้านเดียว โดยโอกาสเกิดใกล้เคียงกันทั้งประสาทด้านซ้ายและประสาทด้านขวา และยังไม่สามารถพยากรณ์ได้ว่า จะเกิดโรคกับประสาทด้านไหน อย่างไรก็ตาม พบโรคเกิดกับประสาททั้งสองข้างพร้อมกันได้แต่พบได้น้อยกว่า 1%

สาเหตุของโรคใบหน้าเบี้ยวครึ่งซีก หรือ โรคประสาทคู่ที่ 7 อักเสบ

โรคนี้ส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์เพราะว่าปากเบี้ยว น้ำลายไหลออกจากมุมปาก ซึ่งเป็นอาการที่มาพบแพทย์เป็นส่วนใหญ่ นอกจากอาการดังกล่าวยังพบว่า….

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up