การดูแลเด็กวัยประถม ปัญหาพฤติกรรมในเด็กวัยเรียน อายุประมาณ 6-12 ปี

ทำ “หน้าที่พ่อแม่” ให้ดีที่สุด หยุดกังวลเกินเหตุจนบั่นทอนจิตใจตน

ว่าด้วยเรื่อง “หน้าที่พ่อแม่” พ่อแม่บางท่านอาจทุ่มเทให้ลูกมาก จนกังวลเกินเหตุ ก่อให้เกิดความคิดด้านลบไม่รู้จบ กังวลแม้แต่ปัญหาของลูกที่เด็กอื่นก็เป็น

ลูกโตมองตัวเองแง่ลบ พ่อแม่ควรทำอย่างไร

ช่วงอายุ 8-12 ปีเป็นช่วงของการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ เด็กๆ ในช่วงนี้ต้องปรับตัวอย่างมาก

พ่อแม่ต้องเปิดใจ “ฟังเสียง” ลูกวัย 8-12 ขวบ

เด็กในวัยนี้ทั้งร่างกายและจิตใจของเขากำลังเปลี่ยนแปลง ลูกเริ่มมีความคิดเป็นของตัวเอง และต้องการอิสรภาพ ฟังเราน้อยลง ให้ความสำคัญกับเพื่อนมากขึ้น เริ่มโต้เถียงมากกว่าเดิม แล้วพ่อแม่จะทำอย่างไรได้บ้างเพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นมารในสายตาลูก

อยากจัดฟัน แต่ฟันแท้ยังไม่ขึ้น ควรดัดฟันหรือไม่?

ถ้าฟันแท้ขึ้นมาไม่เป็นระเบียบ พ่อแม่อยากพาลูกไปจัดฟัน ควรไปเมื่อไร

4 วิธีช่วยพี่โตดูแลตัวเอง


 “ลูกวัยนี้ไม่ชอบให้พ่อแม่ติดตามวุ่นวายยามเขาอยู่นอกบ้าน แต่คุณช่วยเขาให้มีความมั่นใจและมีวิธีดูแลตัวเองได้”  

จับสัญญาณว้าวุ่น เมื่อวัยทีนเผชิญโลกใบใหญ่


“ถึงเรื่องที่ลูกวัยทีนรู้สึกเครียดหรือกังวลจะเป็นเรื่องปกติ และเขามักอยากเผชิญโลกใหญ่ด้วยตัวเอง แต่บางครั้งลูกก็อยากให้พ่อแม่ช่วยเขาบ้าง แม้จะไม่เอ่ยปากตรงๆ ก็ตาม”

วัยทวีนมีการบ้านมากไปหรือเปล่า


โพลจาก Parenting.com ในหัวข้อความเห็นต่อปริมาณการบ้านของลูกๆ มาดูกันว่าคุณพ่อคุณแม่ชาวอเมริกันเขาว่าอย่างไร

แม่คะ หนูอยากโกนขนหน้าแข้ง!


เข้าสู่วัยรักสวยรักงาม แต่เด็กสาวบางคนก็ดันมีขนหน้าแข้งขึ้นให้กวนใจ จนต้องหาวิธีกำจัด แบบนี้แม่เลยคิดหนัก “เอ! ถึงเวลาหรือยังนะ”

ควรหรือไม่ ซื้อมือถือให้ลูก


ในยุคที่โทรศัพท์มือถือเกลื่อนเมือง ถึงเวลาหรือยังที่ลูกเราก็ควรจะมีสักเครื่องเหมือนกัน มาฟังคำตอบจากคุณแม่ในนิตยสารพาเรนติ้ง ฉบับเมืองนอกกัน

เข้าใจ+พร้อมรับมือ Puppy Love ของวัยกำลังโต


ไม่ทันจะเป็นหนุ่มเลย ลูกชายของคุณก็แอบปิ๊งสาวโต๊ะข้างๆ เสียแล้ว ข้างลูกสาว ก็แอบกรี๊ดกร๊าดหนุ่มน้อยหน้าใส คุณแม่เริ่มไม่สบายใจ เอ๊ะ เร็วไปหรือเปล่านะ

4 สิ่งที่คุณแม่ต้องทำก่อนลูกโตออนไลน์

ในยุคดิจิทัลที่เฟซบุ๊ค ไลน์ และทวิตเตอร์มาแรงขนาดนี้ แน่นอนว่าเด็กๆ ไม่ยอมพลาด แต่คนเป็นพ่อแม่อย่างเราจะเข้าไปอยู่ในโลกของลูกได้อย่างไร มาดูคำตอบกัน!

สอนลูก รู้จักการให้


การทำความดีต่อผู้ด้อยโอกาสหรือสังคมก็สนุกพอๆ กับการเล่นเกมคอมพิวเตอร์คนเดียว

สารพัดเรื่องชวนกลุ้มใจ เมื่อลูกย่างเข้าวัยทวีน

การเลื่อนชั้นเรียนสู่ระดับมัธยมต้น มักทำให้คุณแม่รู้สึกตื่นเต้นเป็นกังวลไม่น้อยไปกว่าคุณลูก เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น และจะรับมือได้อย่างไร

ลูกยิ่งโต ยิ่งต้องให้กำลังใจ

ลูกยิ่งโต กำลังใจหรือแรงเสริมทางบวกยิ่งเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะผลักดันให้เขาทำสิ่งดีๆ ทำนิสัยน่ารัก มากกว่าการเน้นกฎระเบียบข้อบังคับและบทลงโทษ

สอนลูกเอาตัวรอด ให้ปลอดภัยยามคับขัน

ภัยร้ายในสังคมอาจทำให้คุณพ่อคุณแม่ เกิดความกังวลใจ เมื่อเจอสถานการณ์คับขัน การ สอนลูกเอาตัวรอด จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้เขาอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัย

ลูกสาวขอแต่งหน้า แค่ไหน อย่างไรเหมาะ

การเข้าสู่วัยรุ่นเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของลูก การทำงานของฮอร์โมนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและอารมณ์ วัยรุ่นจึงมักกังวลกับสายตาของผู้คน และรูปร่างหน้าตาของตัวเอง

4 มุมใหม่ ชวนลูกๆ ใช้โซเชียลมีเดีย

เพราะเด็กยุคใหม่โตมากับโซเชียลมีเดีย ซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสียต่อตัวเขา จะทำอย่างไรให้ลูกเราใช้โซเชียลมีเดียให้เกิดประโยชน์กับตัวเขาเอง

ฝึกมารยาทบนโต๊ะอาหารให้กับลูก


เพื่อนชวนลูกไปกินอาหารที่บ้าน หรือทุกวันอาทิตย์เรามีนัดไปกินข้าวบ้านคุณตาคุณยายหรือไปกินอาหารนอกบ้านด้วยกันทั้งครอบครัว มีหลายโอกาสที่เด็กๆ ต้องมีมารยาทในการกิน

keyboard_arrow_up