เด็ก 6-12 ปี
เด็ก 6-12 ปี วัยแห่งการเตรียมพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เริ่มตั้งแต่เข้าเรียนประถมศึกษา จนเข้าวัยรุ่น
แม่คะ หนูอยากโกนขนหน้าแข้ง!
เข้าสู่วัยรักสวยรักงาม แต่เด็กสาวบางคนก็ดันมีขนหน้าแข้งขึ้นให้กวนใจ จนต้องหาวิธีกำจัด แบบนี้แม่เลยคิดหนัก “เอ! ถึงเวลาหรือยังนะ”
ควรหรือไม่ ซื้อมือถือให้ลูก
ในยุคที่โทรศัพท์มือถือเกลื่อนเมือง ถึงเวลาหรือยังที่ลูกเราก็ควรจะมีสักเครื่องเหมือนกัน มาฟังคำตอบจากคุณแม่ในนิตยสารพาเรนติ้ง ฉบับเมืองนอกกัน
ลูกอยากรู้เรื่องเพศ พ่อแม่ต้องพร้อมคุย
“พ่อครับ อีกหน่อยผมจะมีขนเต็มตัวจริงๆ เหรอ” “แม่ขา หนูจะมีประจำเดือนทุกวันเลยใช่ไหม” นี่แหละ เวลาเหมาะ!!! ลูกบอกให้รู้ว่ากำลังอยากรู้เรื่องเพศ พ่อแม่ต้องคุยอย่างไรดี
เข้าใจ+พร้อมรับมือ Puppy Love ของวัยกำลังโต
ไม่ทันจะเป็นหนุ่มเลย ลูกชายของคุณก็แอบปิ๊งสาวโต๊ะข้างๆ เสียแล้ว ข้างลูกสาว ก็แอบกรี๊ดกร๊าดหนุ่มน้อยหน้าใส คุณแม่เริ่มไม่สบายใจ เอ๊ะ เร็วไปหรือเปล่านะ
วัยทวีนกับคำติดปาก “เอ่อ อืม อ่า…” มีวิธีช่วยแกะออก
คือ “เอ่อ อืม อ่า…” เมื่อไหร่จะคุยกันรู้เรื่องสักที แบบนี้มันน่ารำคาญจริงมากๆ แต่รู้ไหมว่าแม่ช่วยให้ลูกเลิกพูดคำติดปากแบบนี้ได้นะ
4 สิ่งที่คุณแม่ต้องทำก่อนลูกโตออนไลน์
ในยุคดิจิทัลที่เฟซบุ๊ค ไลน์ และทวิตเตอร์มาแรงขนาดนี้ แน่นอนว่าเด็กๆ ไม่ยอมพลาด แต่คนเป็นพ่อแม่อย่างเราจะเข้าไปอยู่ในโลกของลูกได้อย่างไร มาดูคำตอบกัน!
วัยขี้ลืม
ลูกชายวัย 7 ขวบเคยจำอะไรได้ทุกเรื่อง รวมทั้งชื่อของไดโนเสาร์ทุกชนิดที่เคยมีอยู่ในโลก แต่ตอนนี้เขากลับลืมแม้กระทั่งหน้าที่ให้อาหารปลาซึ่งเคยทำเป็นประจำ ทำไมถึงเป็นอย่างนี้นะ
วัยใส หัวใจกุ๊กกิ๊ก
อาการสนใจเพศตรงข้ามของเด็กวัยทวีนเป็นเรื่องธรรมชาติ ว่าแต่พ่อแม่จะสังเกตและรับมืออย่างไรดี ให้สบายใจด้วยกันทุกฝ่าย
สอนลูก รู้จักการให้
การทำความดีต่อผู้ด้อยโอกาสหรือสังคมก็สนุกพอๆ กับการเล่นเกมคอมพิวเตอร์คนเดียว
สารพัดเรื่องชวนกลุ้มใจ เมื่อลูกย่างเข้าวัยทวีน
การเลื่อนชั้นเรียนสู่ระดับมัธยมต้น มักทำให้คุณแม่รู้สึกตื่นเต้นเป็นกังวลไม่น้อยไปกว่าคุณลูก เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น และจะรับมือได้อย่างไร
ลูกโตเริ่มเครียด เพราะขาดการ “เล่น”
ครูแป๋มได้เจอเพลิน สาวน้อยวัย 12 ปีในห้อง play therapy ที่คุณแม่เป็นห่วงลูกสาวมากคือการเป็นคนต้องทำทุกสิ่งให้สมบูรณ์แบบ (ภาวะ perfectionist) อยากเห็นลูกสาวยืดหยุ่น ยอมรับความผิดหวังได้
วัยประถมต้น ส่งเสริมให้เล่น ไม่เน้นเรียนพิเศษ
การเล่นจะช่วยย้ำทักษะทางสังคมที่จำเป็นต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมจริงๆ ให้เด็กมากขึ้น พูดง่ายๆ คือการเล่นก็จะช่วยให้เด็กรู้เหนือรู้ใต้ในชีวิตจริงง่ายขึ้น ช่วยให้การฝึกเรื่องยากๆ แต่จำเป็นในการอยู่ร่วมกับชาวบ้านชาวช่อง เนียนขึ้น ง่ายขึ้น
เล่นสร้างประสบการณ์
ช่วงวัยนี้ลูกต้องเจอของจริงในชีวิตมากขึ้น ขณะเดียวกันจะเริ่มรู้แล้วว่าตัวเองชอบหรือถนัดอะไร
ลูกยิ่งโต ยิ่งต้องให้กำลังใจ
ลูกยิ่งโต กำลังใจหรือแรงเสริมทางบวกยิ่งเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะผลักดันให้เขาทำสิ่งดีๆ ทำนิสัยน่ารัก มากกว่าการเน้นกฎระเบียบข้อบังคับและบทลงโทษ
เมื่อลูกบอกว่า “แม่ครับ ผมขอดื่มบ้าง”
เพราะถึงธรรมชาติของวัยทวีนจะชอบทำอะไรอย่างอิสระ ไม่ชอบการกะเกณฑ์ แต่วัยนี้แหละต้องการข้อมูลหรือความเห็น (แบบไม่เยิ่นเย้อนะ) ซึ่งคนแรกๆ ที่เขาอยากขอข้อมูลหรือความเห็นคือพ่อแม่
สอนลูกเอาตัวรอด ให้ปลอดภัยยามคับขัน
ภัยร้ายในสังคมอาจทำให้คุณพ่อคุณแม่ เกิดความกังวลใจ เมื่อเจอสถานการณ์คับขัน การ สอนลูกเอาตัวรอด จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้เขาอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัย
ลูกสาวขอแต่งหน้า แค่ไหน อย่างไรเหมาะ
การเข้าสู่วัยรุ่นเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของลูก การทำงานของฮอร์โมนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและอารมณ์ วัยรุ่นจึงมักกังวลกับสายตาของผู้คน และรูปร่างหน้าตาของตัวเอง
เด็กๆ เป็นไมเกรนได้ด้วยเหรอ
ไมเกรนเป็นหนึ่งในอาการปวดศีรษะที่ผู้ใหญ่เรารู้จักกันดี ว่าแต่เด็กก็เป็นไมเกรนกันได้ด้วย??