ตกเตียงจนตาบอด เรื่องจริงจากประสบการณ์คุณแม่ - amarinbabyandkids
ตกเตียงจนตาบอด

อุทาหรณ์! ลูก “ตาบอด” หลังตกลงมาจากเตียง

Alternative Textaccount_circle
event
ตกเตียงจนตาบอด
ตกเตียงจนตาบอด

ข้อแนะนำสำหรับผู้ปกครอง คือ

  • เปลไกวที่มีลักษณะเป็นเปลญวณ หรือใช้ผ้าผูกทั้งหลาย ไม่ควรใช้ หากเด็กลุกนั่งได้แล้ว เพราะเด็กอาจตกได้ ดังนั้นเปลไกวที่มีลักษณะเป็นเปลญวน จะเหมาะสำหรับเด็กที่นอนหงายเท่านั้น หรือเด็กที่อายุไม่เกิน 5 เดือน ส่วนใหญ่ไม่ต้องใช้หมอนหนุน ดังนั้นโอกาสจะเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจจากการนอนคว่ำก็น้อย
  • ส่วนเปลไกวที่มีลักษณะคล้ายเตียงเด็ก ซี่หรือช่องห่าง จะต้องไม่มีขนาดใหญ่ เกินกว่า 6 ซ.ม. นอกจากนี้ต้องดูตัวล็อคร่วมกัน ว่ามีความแข็งแรงทนทานหรือไม่ ถ้าเอามือเกาะ หรือ เขย่าเตียงแล้วหล่นลงมา ก็ไม่ควรใช้
ที่นอนทารก
การบาดเจ็บและอันตรายจากการตกเตียงในทารก
  • ส่วนเบาะสำหรับเด็ก ต้องเป็นเบาะที่มีความแข็งกำลังดี เบาะ ฟูก หมอน หรือผ้าห่มนุ่มๆ หนาๆ ขนาดใหญ่ๆ หน้าเด็กอาจจุ่มลงไป แล้วกดจมูก และปาก เป็นเหตุให้ขาดอากาศหายใจ เสียชีวิตได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจัดเด็กนอนในท่าคว่ำ นอกจากนี้เบาะนอน กับซี่ราวกันตก จะต้องชิดกันพอดี ไม่มีช่องว่าง เพราะอาจทำให้เด็กตกลงไปตามซอก และเสียชีวิตได้เช่นกัน
  • อย่าวางผ้าห่มกองไว้ใกล้ศีรษะเด็ก ซึ่งอาจกดทับใบหน้า จมูกทำให้ขาดอากาศหายใจได้ ควรเลือกชุดนอนที่หนาอบอุ่น สวมใส่ได้พอดี ทำให้ไม่ต้องใช้ผ้าห่ม หากจะใช้ผ้าห่ม ต้องเลือกเนื้อผ้าบาง สอดเก็บขอบใต้เบาะให้ดี เพื่อไม่ให้ผ้าห่มหลุดลุ่ยมากดใบหน้าเด็ก ต้องไม่ให้เครื่องนอน ของเล่น เสื้อผ้า อุปกรณ์อื่นๆ มีลักษณะเส้นสาย เพราะอาจเป็นเหตุให้เกิดการรัดคอเด็กได้

ด้วยความห่วงใยจากเว็บไซต์ Amarin Baby & Kids จึงขอฝากเตือนไปยังผู้ปกครองทุกท่านว่า อย่าลืมสำรวจ “ที่นอน” ของลูกน้อยเป็นการด่วนก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป !!??

เครดิต: www.emirates247.com , www.csip.org

อ่านเพิ่มเติม คลิก!!

ลูกน้อยตกเตียง ช่วยเหลืออย่างไรไม่ให้เสียชีวิต?

ทารกนอนคว่ำ เสี่ยงหลับไม่ตื่น ไหลตายไม่รู้ตัว

อันตราย! เด็ก 2 ขวบ เสียชีวิตเพราะหัวติดเตียง

Save

Save

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up