ทารก 0-1 ปี
แหล่งรวบรวมความรู้ ทารก 0-1 ปี บทความ ด้านโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ของทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี ลูกจะเปลี่ยนไปยังไงบ้าง รวบรวมพัฒนาการทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ
ใช้ “เก้าอี้กินข้าว” ให้ปลอดภัย
การป้อนข้าวลูกหรือฝึกให้ลูกกินอาหารเองอย่างปลอดภัยหายห่วงไม่ใช่เพียงการเริ่มให้อาหารทีละชนิดไปเรื่อย แต่ควรเริ่มตั้งแต่ก่อนอาหารถูกป้อนเข้าปาก นั่นก็คือ การนั่งกินข้าวให้ปลอดภัย ด้วยข้อแนะนำต่อไปนี้
ทารกวัย 3 เดือน เริ่ม “ขบ กัด งับ เคี้ยว” เพราะอะไรนะ?
เห็นลูกน้อยเมามันกับการเอาของทุกอย่างเข้าปากเท่าที่อยู่ในระยะสายตาและมือน้อยๆ ของเขาจะคว้าได้ คุณคงอยากรู้ว่า เพราะอะไรเบบี๋ถึงได้หลงใหลกับการขบ กัด งับ เคี้ยวยิ่งนัก
เมื่อ ” แม่ ” ไม่วางใจให้ใครเลี้ยงลูก
สำหรับคุณแม่มือใหม่ หลายครั้งหลายคราบางคนก็หวงลูกแม้กระทั่งกับสามี ขณะที่บางคนก็อาจวางใจสามีเพียงคนเดียว! จนคิดว่าตัวเองวิปริตผิดจากใครๆ เสียแล้ว
ทำไม เอะอะก็ตีแต่แม่
ลูกชายอายุ 1 ขวบ เขาเริ่มตีดิฉันค่ะ แต่เขาไม่ตีคนอื่นๆ ในบ้าน ตีแต่แม่คนเดียว ดิฉันจะทำอย่างไรดีคะ
4 เคล็ดลับพาเบบี๋นั่งรถอย่างมั่นใจ
เมื่อถึงคราวจำเป็นต้องพาลูกทารกนั่งรถออกนอกบ้าน ก็ต้องมีการเตรียมตัวเพื่อความปลอดภัยของลูกน้อยกันหน่อย เรามีวิธีง่ายๆ 4 วิธีมาฝากค่ะ
อัจฉริยะสร้างได้ เริ่มตั้งแต่ในครรภ์มารดา
ก่อนนี้คุณพ่อคุณแม่หวังเพียงว่า ขอให้ทารกที่เกิดใหม่มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ก็ถือว่าโชคดีมากแล้ว ส่วนจะฉลาดหลักแหลมหรือไม่ค่อยมาลุ้นกันภายหลังครับ
9 เดือน เริ่มจดจำใบหน้าตัวเอง
ก่อนอายุ 9 เดือน เมื่อเบบี๋มองกระจก เขาจะจ้องมองอยู่นาน ทั้งๆ ที่ก็ยังไม่มั่นใจหรอกว่าคนตัวเล็กหน้าตาน่าเอ็นดูในกระจกนั่นเป็นเขาเอง
4 ข้อน่ารู้ เรื่องการ “เติบโต” ของลูกทารก
มองดูเบบี๋แรกเกิดเห็นเล็บก็เล็กจิ๋ว ใบหูก็นิดหนึ่ง ทุกส่วนช่างเล็กไปหมด เมื่อไรกันหรือที่ร่างกายและอวัยวะต่างๆ ของทารกน้อยจะโตขึ้น
ส่งเสริม 7 พัฒนาการ สร้างความฉลาดรอบด้านให้กับลูก
เลี้ยงลูกให้ฉลาด ด้วย 7 พัฒนาการรอบด้านจะช่วยให้ลูกของคุณเติบโตเป็นคนเก่งและดี เรามาเรียนรู้ตั้งแต่เรื่องสมองไปจนการส่งเสริมพัฒนาการ 7 ด้านกันค่ะ
เบบี๋ “อยากเล่น” หรือ “ไม่อยากเล่น” ดูตรงไหน
ขณะทารกน้อยกำลังนอนในเปล ส่งเสียงอ้อแอ้กับแม่ แม่บอกให้ยิ้มก็ยังยิ้มตอบ แต่แล้วเจ้าตัวน้อยเกิดเงียบขึ้นมาเฉยๆ แม่มือใหม่เลยเกิดเป็นงง มีแต่คำถามผุดขึ้นในใจ
ลูกน้อยสมองดี…ด้วย กฎทอง 7 ข้อ
เพื่อลูก “สมองดี” คุณพ่อคุณแม่เองก็สร้างได้ ไม่ต้องเสียเงินทองมากมายก่ายกอง ลองมาอ่านกฎทั้ง 7 ข้อนี้จากปากผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาอัจฉริยภาพเด็ก แล้วลองทำดูกันเลยค่ะ
ถอดรหัสเบบี๋ สีหน้าแบบนี้โกรธอยู่หรือเปล่า
เวลาเจ้าตัวเล็กวัย 4 เดือนทำหน้านิ่วคิ้วขมวดพร้อมๆ กับแผดเสียงร้อง คุณอาจจะคิดว่าลูกกำลังโกรธหรือโมโหใครอยู่
ควรแคะขี้หูให้ลูกๆไหม
คุณพ่อคุณแม่หลายคนเข้าใจว่า “ขี้หู” เป็นของเสียจากร่างกายที่ต้องกำจัดทิ้ง ด้วยการแคะ เช็ด ล้าง ฯลฯ แต่ความจริง ขี้หูมีประโยชน์กว่าที่เราคิดเยอะ ไม่เชื่อลองมาฟังกันดู
เกมใบไม้พาเพลิน
ช้าก่อนคุณแม่! อย่าเพิ่งเห็นใบไม้ทั้งแห้ง สด เก่า ใหม่ที่โปรยปรายเกลื่อนพื้นสนามหน้าบ้านและหลังครัวเป็นของรกหูรกตา และรีบเก็บกวาดทิ้งขยะนะคะ
เล่นสนุกกับลูกได้ ด้วยของใกล้มือ
ของเล่นลูกทารกที่คุณทำเองด้วยวัสดุหาได้ในบ้าน (ไม่เสียเงินเลย) แต่เวิร์คเกินคาด คืออะไร
จับสังเกต! ลูกน้อยได้ยินปกติหรือเปล่า
ลูกเราได้ยินปกติไหม เป็นอีกเรื่องสำคัญที่พ่อแม่ควรใส่ใจตรวจสอบตั้งแต่ลูกยังเล็ก
วิธีเลือกแก้วให้เหมาะกับวัย
หลังเริ่มกินอาหารตามวัยกันแล้ว การหัดดื่มน้ำเป็นบันไดการกินขั้นต่อไปของลูกน้อย ถึงเวลาของการหัดดื่มจากแก้วซึ่งมีหลายแบบให้เลือกใช้ ว่าแต่แก้วหัดดื่มแบบไหนล่ะที่เหมาะกับลูกเรา
พาเบบี๋ลงอ่างให้สนุกและปลอดภัย
เมื่อทารกน้อยตัวโตขึ้นจนได้เวลาพาเขาลงอ่างอาบน้ำแล้ว ฟังดูก็น่าสนุกเนอะ แต่ที่สำคัญคุณคงอยากมั่นใจให้ลูกน้อยทั้งสนุกและปลอดภัย มีอะไรบ้างที่ควรรู้และเข้าใจ มาดูกันค่ะ