ทารก 0-1 ปี
แหล่งรวบรวมความรู้ ทารก 0-1 ปี บทความ ด้านโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ของทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี ลูกจะเปลี่ยนไปยังไงบ้าง รวบรวมพัฒนาการทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ
พ่อ-แม่มือใหม่ต้องรู้! วิธีอาบน้ำลูก
หลังจากพาสมาชิกใหม่ตัวน้อยที่เพิ่งคลอดกลับมาบ้าน นอกจากคุณแม่จะต้องวุ่นวายกับการปรับตัวและเตรียมความพร้อมในหลายๆ เรื่องแล้ว การอาบน้ำคงเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่คุณแม่หลายคนยังคงกังวลอยู่
ของเล่นชิ้นแรก…สำหรับลูกน้อย
นอกจากสนใจภาพหรือสิ่งของที่มีสีตัดกันแล้ว ลูกน้อยวัยนี้ยังพร้อมเรียนรู้ สนใจฟังเสียงเพลงที่มีทำนองช้าๆ กับวัตถุที่เคลื่อนไหวได้เป็นพิเศษ จึงเป็นโอกาสดีที่เราจะเสริมสร้างพัฒนาการของลูกไปพร้อมๆ กับการเล่นสนุกด้วย
เมื่อหนูน้อยเลือก ระหว่างพ่อหรือแม่
ตอนอายุ 9 เดือน เวลาน้องเกรซอารมณ์เสีย มีแม่เพียงคนเดียวเท่านั้นแหละที่ทำให้เธออารมณ์เย็นลง เพราะพอพ่อมาโอ๋ทีไร เจ้าตัวน้อยเป็นต้องร้องไห้จ้าทุกที
กำราบ ผดผื่น กวนใจเจ้าตัวเล็ก
อากาศที่เดี๋ยวร้อนเดี๋ยวชื้นอยู่อย่างนี้อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ผิวของลูกเกิดผดผื่นแดงๆ ได้
ลดความน่าเบื่อในการเล่านิทาน
ถ้ากำลังอ่านนิทานให้เจ้าตัวเล็กฟังอยู่ดีๆ แต่เขากลับทำท่ายุกยิกไม่สนใจฟัง คุณแม่ทั้งหลายอาจจะวิตกกังวล
ดูสิว่าหนูทำอะไรได้…ก็เต้นรำไง!
ในช่วงวัย 1 – 2 ขวบ เมื่อลูกน้อยได้ยินเสียงดนตรี เขาจะสนองตอบด้วยรอยยิ้ม โยกตัวตาม หรือปรบไม้ปรบมือ
แปรงฟันซี่แรกของลูกกันดีกว่า
เมื่อฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มโผล่มาทักทายราวกับกลีบดอกไม้น้อยๆ ให้คุณใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซชุบน้ำสะอาดบิดหมาดเช็ดฟันของเขาเบาๆ
จุกนมหลอก ตัวช่วยมหัศจรรย์ของเบบี๋
แต่พอได้ยินเพื่อนๆที่เป็นคุณแม่กล่าวขวัญถึงสรรพคุณของมัน ก็เริ่มลังเล
เพราะอะไร ลูกไม่ยอมดูดนมแม่?
โดยปกติทารกจะกินนมแม่ไปจนอายุ 1 ขวบ แต่เด็กบางคนอาจจะมีเหตุให้เลิกเร็วกว่านั้น สำหรับทารกวัย 6 – 12 เดือน สาเหตุที่เขาไม่ยอมกินนมแม่
เบบี๋ก็ปลอบประโลมตัวเองได้นะ!
เบบี๋ตัวน้อยวัยเพียง 2-3 เดือนก็รู้จักวิธีปลอบประโลมตัวเองแล้วนะ พฤติกรรมอะไรบ้างที่เป็นเช่นนั้น มาลองดูกัน!
แปลความหมาย เสียงจากลูก
การร้องจ้าของทารกน้อยสื่อชัดเจนทั้งเสียงและความหมายว่าเขาไม่สบอารมณ์อะไรบางอย่างแต่เสียงอื่นๆ ล่ะ ทารกน้อยทำเสียงอะไรบ้าง
บอกรักฉบับเบบี๋
คุณแม่ทั้งหลายย่อมรู้อยู่แก่ใจว่า คุณคือทุกอย่างสำหรับเจ้าตัวน้อย แต่ในช่วง 2 – 3 เดือนแรกของชีวิต
วิธีปกป้องลูกไม่ให้ใครมาแตะ หอม ฟัด
ลูกเข้าวัยกำลังน่ารักน่าหยิก ออกนอกบ้านทีไรได้เรื่องทุกที เดี๋ยวคนนั้นกอด เดี๋ยวคนนี้หอม คุณแม่หลายท่านเลยต้องขอใช้มาตรการป้องกันหน่อย
ใครอยู่ในกระจก
เวลามองกระจก เจ้าตัวเล็กอาจจะรู้หรือไม่ก็ได้ว่า ใบหน้าที่จ้องกลับมาก็คือใบหน้าของเขาเอง ถึงอย่างนั้น หนูน้อยก็ยังชอบมองกระจกอยู่ดี
สอนหนูน้อย ให้ใกล้ชิดสัตว์ต่างๆ
สัตว์กับเด็กนั้นมีส่วนคล้ายกันหลายอย่าง ทั้งน่าเอ็นดู คาดเดาไม่ได้ แล้วก็ชอบทำเสียงประหลาดๆ แน่นอนว่าพฤติกรรมเหล่านี้ของสัตว์ดึงดูดความสนใจจากลูกน้อยของคุณได้ดีนักเชียว
ฝึกทารกห่างอ้อมอกแม่
คุณอาจจะชอบเวลาที่ได้กอดหรืออุ้มลูกวัยทารก ซึ่งเจ้าตัวเล็กก็คงคิดเช่นเดียวกัน เพราะอยู่ในอ้อมกอดแม่ทีไรหนูน้อยก็หยุดร้องไห้ได้ (แทบ) ทุกที การกอดของแม่จึงถือเป็นการปลอบขวัญชั้นเยี่ยมสำหรับเขา
สนุกกับหยิบเข้า & เอาออก
ครั้งหนึ่ง ลูกเคยสนุกสนานกับการได้คุ้ยและหยิบสิ่งของออกจากที่เดิมที่มันเคยอยู่ (เช่น หยิบโทรศัพท์ออกจากกระเป๋าถือคุณแม่)
ควรปล่อยให้ลูกทารก “สัมผัส” เพื่อเรียนรู้ ทำไม?
หมู่นี้ลูกทารกชอบใช้มือกับนิ้วเล็กๆ จับและสำรวจทุกสิ่งตรงหน้า พอหลายครั้งเข้า คุณแม่อาจลังเลใจแล้วว่าควรจะห้ามหรือปล่อยให้ลูกมีความสุขกับการสำรวจดี