พัฒนาการเด็ก พฤติกรรมลูก เด็ก 1-3 ปี พัฒนาการด้านภาษาและการพูดสื่อสาร

How to watch movie with your kids ดูหนังกับลูกต้องสอนอะไรบ้าง?

การชวนลูกดูการ์ตูนหรือภาพยนตร์ร่วมกัน ไม่ว่าจะดูกันทั้งครอบครัว ดูกับคุณพ่อ หรือคุณแม่ก็ตามเป็นกิจกรรมที่หลายๆ ครอบครัวมักทำร่วมกันในวันว่าง ตอนเย็นหลังทานข้าว หรือก่อนนอน …

ครั้งแรกในประเทศไทย! วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์

ตั้งแต่ปี 2012 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิด 4 สายพันธุ์เพื่อให้การป้องกันไข้หวัดใหญ่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และวัคซีนนี้มาถึงประเทศไทยแล้ว

ลูกไม่ยอมเคี้ยว กลืนจนอาหารติดคอ จะแก้ไขอย่างไร?

ลูกน้อยบางคนเคยมีประสบการณ์การกินอาหารที่แข็งครั้งแรกแล้วทำไม่สำเร็จ แล้วอาเจียนหรือจุกในคอ ทำให้เป็นประสบการณ์ไม่ดี มาฝึกให้ลูกเลิกกลัวการเคี้ยวอาหารเป็นชิ้นกันดีกว่า

คุณแม่คนดังเผยเคล็ดลับ เทคนิคการเลี้ยงลูกแบบ Non-Stop Learning

การพัฒนาสมองของลูกน้อยในช่วง 1-5 ปีแรกของชีวิต เป็นช่วงเวลาทองที่สมองลูกรักมีพัฒนาการสูงสุดและเติบโตถึง 85% ของสมองผู้ใหญ่ การเรียนรู้ทุวินาทีจึงเป็นสิ่งที่พลาดไม่ได้

วิธีลดไข้ให้ลูกอย่างได้ผล!

หน้าฝนที่อากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทำให้ร่างกายลูกปรับตัวตามไม่ทัน ภูมิคุ้มกันทำงานได้ไม่เต็มที่จึงอาจทำให้ลูกเป็นหวัด และมีไข้ได้ง่ายๆ เพื่อให้ลูกไม่เจ็บป่วยจนขัดขวางพัฒนาการสำคัญ

ลูกอารมณ์รุนแรง ผิดปกติไหมสำหรับเด็กวัย 2 ขวบครึ่ง?

ลูกอายุ 2 ขวบครึ่ง อารมณ์เขาเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเร็วมาก ดีใจก็สุดๆ ไม่พอใจก็ร้องเสียงดัง ตี หรือกัดได้เลย บางทีอยู่กับแม่ไม่มีเหตุอะไรให้ไม่พอใจ ก็ร้องโวยวายหงุดหงิดได้เลย อยากรู้ว่าแบบนี้เป็นปกติของเด็กวัยนี้หรือไม่

PDX สารอาหารตัวใหม่ ช่วยลูกน้อยลดป่วย พร้อมเรียนรู้

การเตรียมลูกให้พร้อมทุกการเรียนรู้ในช่วง 3 ปีแรกสำคัญมาก คุณแม่ทุกคนอยากเห็นพัฒนาการที่ต่อเนื่องไม่มีสะดุดของลูกน้อย

จินตนาการสำคัญ…ขนาดนี้…

การเล่นสมมติ เป็นเรื่องดีที่สุดเรื่องหนึ่งของพัฒนาการเด็ก มีผลต่อสมองทำให้สมองเกิดการเชื่อมโยงของข่ายใยประสาทจำนวนมากมาย

“ทางสายกลาง” ให้ลูกกินของหวานแบบไม่เสพย์ติด ห้ามมากไปทำลูกเครียดจนแอบกินไม่หยุด

เราไม่อนุญาตให้ลูกกินน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ แต่ปู่ย่า ตายาย อากง อาม่า ฯลฯ ให้มาจะทำอย่างไร ปฏิเสธทุกครั้งก็คงไม่ดี แต่ปล่อยไปคงตบะแตกแน่ ตอนนี้ก็แทบจะฉุดกันไม่อยู่แล้วค่ะ

ลูกโกรธ ลูกโมโห เรื่องธรรมดา แต่ต้องสอนลูกแสดงออก “ให้เป็น”

ลูกโกรธ โมโห หงุดหงิด จนบางครั้งแสดงจินตนาการ “ก้าวร้าว” ทั้งที่ไม่เคยให้ลูกเสพสื่อที่ใช้ความรุนแรง จะสอนลูกเรื่องอารมณ์ทางลบอย่างไรดี?

พี่ยังไม่ทัน “มี” จะให้เอาอะไรไป “เสีย” และ “สละ”

คำสั่งสอนประเภท “เป็นพี่ต้องเสียสละ มีน้ำใจให้น้อง” เป็นคำพูดที่ไม่มีความหมายอะไร พี่อายุ 3 ขวบไม่ต้องการคำสั่งสอนประเภทนี้

โอเมก้า 3 ดีกับพัฒนาการ 3 ด้านของลูกรัก

พัฒนาการของลูกรักเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับคุณแม่…

1-3 ขวบ ต้องการเป็นตัวของตัวเอง

“เด็กตัวเล็กที่ทั้งถือทั้งลากของเล่นไว้เยอะๆ จนตัวเองจะแบกไม่ไหว” นั่นแหละคือภาพที่บอกเล่าความเป็นเด็กวัยเตาะแตะ

วัย 1 – 3 เปลี่ยนพฤติกรรมกะทันหัน

อยู่ๆ ลูกก็กลับมาร้องไห้งอแงเวลาไปโรงเรียน ทั้งที่เลิกร้องไห้มาเป็นเดือนแล้ว เกิดอะไรขึ้นคะ

4 เคล็ดต้องรู้ ถ้าไม่อยากเป็นมารร้ายในสายตาลูก

คุณพ่อ คุณแม่หลายคนคงเคยพบกับปัญหาที่ลูกน้อยวัยซน วัยแสบ ทั้งดื้อด้าน เอาแต่ใจ และไม่ค่อยจะเชื่อฟังคุณพ่อ คุณแม่ ทำเป็นไม่สนใจก็แล้ว พูดดีๆ ด้วยก็แล้ว นับ 1-1,000 ไปแล้วหลายรอบ แต่ลูกน้อยกลับทำไม่รู้ไม้ชี้ จนบางครั้งคุณพ่อ คุณแม่ก็แปลงร่างเป็น มารร้ายในสายตาลูก

เทคนิคคลายกังวลเมื่อเตาะแตะ “ช่างสำรวจ”

รู้เรื่องน่าเป็นห่วงของวัยอยากรู้โลก เพื่อช่วยลดความกังวลที่เมื่อคุณพ่อคุณแม่พาลูกออกไปเล่นนอกบ้าน แถมช่วยเสริมพัฒนาการด้วยนะ

ลูกเป็นอะไรเวลาไม่พอใจ ชอบหยิกคนอื่น?

ลูกอายุ 1 ขวบ 11 เดือน เวลาเขามีความรู้สึกไม่ดีมากๆ เสียใจ หงุดหงิด โกรธ จะหยิกค่ะ พ่อ แม่ น้อง และพี่เลี้ยง โดนหมดค่ะ เป็นเพราะอะไร และจะช่วยลูกอย่างไรดีคะ

ฝึกลูกวัย 1-3 ขวบ รู้จัก ‘รอ’

เข้าสู่วัยเตาะแตะความสนอกสนใจทุกอย่างตลอดเวลาของลูกวัยนี้ทำให้ความอยากมีมากมายไปด้วย และพอไม่ได้อย่างใจ ลูกวัยนี้ก็พร้อมออกท่าไม้ตาย ร้องไห้โวยวาย ได้ในพริบตา ซึ่งมักจะได้ผลกับพ่อแม่เสียด้วย   Challenge # 1 : พ่อแม่ผู้รู้ใจ ไม่ใช่โรคติดต่อแต่พ่อแม่เป็นกันค่ะ แค่ลูกปรายตามอง อยากได้อะไร คุณพ่อคุณแม่ก็รีบหยิบมาให้ทันที เรียกว่าเป็นผู้รู้ใจลูกจนน่าชื่นชม น่าจะแฮปปี้เอ็นดิ้งๆ “แต่คุณรู้หรือไม่ว่าการตอบสนองไวเกินไปทำให้ลูกรอคอยไม่เป็น แถมข่าวเศร้าทักษะภาษาของลูกจะเนิ่นช้าออกไปอีกด้วย เพราะไม่ต้องพูดอะไร แค่มองก็มีคนเอามาให้ แล้วจะพูดทำไมให้เมื่อย เลือกไม่พูดก็ได้นี่นา” เอาตัวรอดกันดีกว่า : “หัดยื้อเวลาเสียหน่อย เช่น ลูกชี้ไปที่ขวดนม คุณพ่อคุณแม่แกล้งทำท่างงใส่ พร้อมถามว่า “อะไรเหรอลูก” หรือลูกอยากจะได้ลูกบอลที่อยู่ข้างๆ ตัวเรา เราก็ดึงเวลาหน่อยด้วยการนับ หนึ่ง สอง สาม แล้วค่อยยื่นให้ ลูกจะเริ่มรู้ว่าบางครั้งอยากได้อะไร ก็ต้องรอหน่อยนะ”   Challenge # 2 : แค่ขยับก็นึกว่าลูกอยากได้ ธรรมชาติของเด็กวัยเตาะแตะคือการสำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว ชอบหยิบจับ คว้า สัมผัส และรื้อค้น ไม่ว่าอะไรก็รู้สึกแปลกใหม่และอยากรู้อยากเห็นไปหมด เพราะเขายังไม่เคยพบเห็นมาก่อน […]

keyboard_arrow_up