เด็ก 1-3 ปี
พัฒนาการเด็กเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรให้ความสำคัญอย่างยิ่งในวัย เด็ก 1-3 ปี เด็กจะ พูดจาโต้ตอบได้ดี เคลื่อนไหวของร่างกายได้มากขึ้น ทำตามคำสั่งง่าย ๆ ได้
เล็ก กับ ใหญ่ หนูพอเข้าใจแล้ว
เคยหารองเท้าส้นสูงสีแดงคู่โปรดของคุณไม่เจอทั้งที่แน่ใจว่าเก็บไว้ในตู้เรียบร้อยแล้วกันบ้างไหมคะ
8 กิจกรรม เสริมพัฒนาการ วัย 1-3 ปี
ลูกน้อยวัย 2 – 3 ขวบนั้นเปี่ยมด้วยพลังงาน (ล้นเหลือ) จนบางทีคุณพ่อคุณแม่หัวหมุน แต่ในขณะเดียวกันพลังงานเหล่านี้ก็ช่วยกระตุ้นให้หนูๆ อยากขยับเขยื้อนเคลื่อนไหว สร้างความคล่องแคล่ว
ทำไม “ลูกไม่ยอมให้หอม” ล่ะเนี่ย
เห็นแก้มยุ้ยๆ ตัวกลมๆ คุณพ่อคุณแม่คนไหนก็คงอดใจไม่ไหว ต้องหอมสักฟอด แต่เด็กบางคนกลับออกอาการ “ไม่ชอบสุดๆ” ถึงขั้นเบือนหน้าหนี
แต่งตัว + อาบน้ำ + กิน วัยนี้ควรทำอย่างไร
คุณอาจช่วยอำนวยความสะดวกให้ลูก ด้วยการเตรียมอุปกรณ์ที่เอื้อให้เขาลงมือทำอะไรๆ เองได้
เจ้าหนูจอมสั่ง (เสียงดังเกินไปแล้วนะ!)
ตั้งแต่เช้าตรู่จรดเย็นค่ำไปจนถึงเวลาเข้านอน คุณคงเหนื่อยใจกับเจ้าลูกตัวน้อยที่บางทีก็สงสัยว่าน่าจะเป็นลูกลิงซะมากกว่าเต็มที
อี๋ ! ทำไมลูกชอบเล่นสกปรกจัง
ผู้ปกครองส่วนใหญ่อาจไม่ชอบใจนัก เมื่อเห็นลูกๆเล่นตักทรายอย่างเมามันหรือเล่นดินที่เปียกจนเป็นโคลนข้นๆจนหน้าตาเนื้อตัวสกปรกและเสื้อผ้าเปื้อนไปหมด
รับมือศิลปะบนพื้น + ผนัง
น้องทอนญ่า วัย 1 ขวบ 6 เดือน ชอบวาดรูปด้วยสีเทียนเป็นชีวิตจิตใจ แต่ปัญหาอยู่ที่ว่าสาวน้อยนิยมการวาดบนอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่กระดาษ ไม่ว่าจะเป็นบนพื้น หรือที่แย่กว่านั้นก็คือบนผนัง
ลูกไม่ฟังพ่อแม่ จบปัญหาได้ด้วย 5 วิธีสุดเทพ!
จบปัญหา ลูกไม่ฟังพ่อแม่ ด้วย 5 วิธีสุดง่าย … คราวนี้แหละไม่ต้องพูดซ้ำ ๆ ให้ต้องเหนื่อย!
ไปกินข้าวนอกบ้าน (แบบราบรื่น) กันนะลูก
วัยเตาะแตะสามารถอ้อยอิ่งได้ทุกที่ ยกเว้นบนเก้าอี้ที่นั่งกินข้าวอยู่! เรามีเคล็ดลับในการพาลูกวัย 1 – 2 ขวบไปกินข้าวข้างนอกบ้านอย่างสันติ และทำให้ทุกคนสนุกกับกิจกรรมนี้มากขึ้นมาฝากกัน
ทำสวน…สนุกจัง
พอถึงวันหยุดสุดสัปดาห์ คุณพ่อ คุณแม่ก็มักมีงานบ้านเข้าคิวรอให้เคลียร์กองพะเนิน บ้านไหนมีสวนก็ต้องจัดการดูแลต้นไม้ใบหญ้าให้งอกงามและไม่รกเรื้อ
กล่อง = ความสนุก (แบบหยุดไม่อยู่)
พอถึงเทศกาลปีใหม่ ที่บ้านของน้องผึ้ง วัย 3 ขวบก็เต็มไปด้วยกล่องของขวัญมากมาย เจ้าตัวเล็กเลยสนุกกับของเล่นชิ้นใหม่
เมื่อคำว่า “ใช่” กลายเป็น “ไม่”
เมื่อลูกยังเล็กเขาอาจตอบคุณทุกอย่างว่า “ไม่” ไม่ว่าจะเป็น ไม่เอา ไม่กิน ไม่ใช่ ไม่ไป ฯลฯ แต่เมื่อโตขึ้นลูกก็ดูมีทีท่าตอบรับคุณมากขึ้น แต่จะรู้ได้อย่างไรว่าเขาตกลงกับเราจริงหรือเปล่า
เริ่มสอนภาษาไทย…ให้ลูกหัดพูด ด้วย 3 วิธีการเพิ่มคลังศัพท์ใหม่แบบง่ายๆ
การฝึก ลูกหัดพูด สามารถทำได้โดยวิธีสอนคำศัพท์ใหม่ โดยเฉพาะคำภาษาไทยให้ลูกน้อยวัย 1 ขวบเศษ จะมีเทคนิคอย่างไร ตามไปดุกันเลยค่ะ
รู้จักและเข้าใจ ความ “กลัว” ของวัยเตาะแตะ
ความกลัวของเด็กวัย 1 ขวบขึ้นไปจะซับซ้อนขึ้น ส่วนหนึ่งก็มาจากพัฒนาการของลูกน้อยเอง ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ควรเข้าใจ มาเรียนรู้สาเหตุและวิธีการปลอบใจเมื่อลูก “กลัว” กันค่ะ
วิธีจับลูกนั่งโต๊ะกินข้าว
รู้หรือไม่! 18 เดือน คือวัยที่เจ้าตัวน้อยพร้อมเรียนรู้อะไรแปลกๆ ใหม่ๆ และพร้อมจะพัฒนาตัวเองได้มากกว่าเจ้าลิงจ๋อแล้ว!
9 วิธี สยบสงคราม ยามสระผมเตาะแตะ
ถึงเวลาสระผมทีไร เจ้าตัวน้อยเป็นต้องทั้งดิ้นทั้งร้องกรี๊ดๆ จนสระเสร็จ ทำเอาเหนื่อยและเข็ดขยาดกันทั้งสองฝ่าย จะมีทางออกดีๆ บ้างไหมนะ
วิธีรับมือเมื่อมีแขกมาเยือน
จากที่เคยเห็นแต่หน้าพ่อกับแม่ พอปิดเทอมญาติๆ กลับแห่แหนมาเยี่ยมเจ้าตัวเล็กกันใหญ่
หนูทำตามสั่งได้แล้วนะจ๊ะแม่
ถ้านึกภาพเจ้าตัวเล็กวัยเตาะแตะ พ่อแม่คงยังไม่คิดถึงคำว่า “ลูกมือ” หรือ “ผู้ช่วย” ในเรื่องต่างๆ แน่ แต่ความจริงแล้ววัยนี้แหละเป็นโอกาสเหมาะที่จะสอนเรื่องหน้าที่และความมีน้ำใจ