เด็ก 1-3 ปี
พัฒนาการเด็กเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรให้ความสำคัญอย่างยิ่งในวัย เด็ก 1-3 ปี เด็กจะ พูดจาโต้ตอบได้ดี เคลื่อนไหวของร่างกายได้มากขึ้น ทำตามคำสั่งง่าย ๆ ได้
หากลูกกลัว ” หมา ” อย่าฝืนใจให้เผชิญ
ถ้าลูกกลัวหมา คุณก็ต้องแสดงการรับรู้ว่าเขากลัว และช่วยให้เขาสบายใจขึ้นเมื่อต้องอยู่ใกล้ๆ กับเจ้าสี่ขาที่น่ารัก เช่นพูดว่า แม่รู้ว่าหนูกลัวหมาโดยไม่ต้องต่อความอะไรอีก
อย่าจั๊กจี้ หนูแรงนะ
เวลาที่เราอยากให้เด็กหัวเราะ วิธีที่ง่ายที่สุดเห็นจะได้แก่ การเข้าไปจั๊กจี้เขา แต่สำหรับเด็กบางคนการหัวเราะหลังถูกจั๊กจี้ไม่ได้สะท้อนถึงความสุขของเจ้าตัวเสมอไป
เมื่อหนูไม่รู้จักคำว่า “รอ”
คงเป็นเรื่องน่าปวดหัวไม่ใช่เล่นสำหรับคุณพ่อคุณแม่ เมื่อต้องรับมือกับอาการ “จะเอาเดี๋ยวนี้” ของเจ้าตัวเล็ก
ลูกชอบเดินแก้ผ้ารอบบ้าน ทำยังไงดี
มีหลายเหตุผลด้วยกันที่ทำให้เจ้าตัวเล็กชอบ “ชุดวันเกิด” เด็กวัยนี้เพิ่งเรียนรู้ที่จะถอดชุดเป็น
หนูชอบพูดซ้ำๆ (แม่ชักเหนื่อยแล้วลูก)
ลองนึกถึงสถานการณ์ที่ลูกถือกล้องของเล่นและหันไปพูดกับทุกคนในบ้านว่า “มาถ่ายรูปแชะๆ กันค่ะ”
อย่าเขย่าหนูนะ
พ่อแม่บางคนไม่คิดจะตีลูกเมื่อเขาทำผิด เพราะกลัวว่าเจ้าตัวเล็กจะเจ็บ จึงเลือกที่จะเขย่าตัวเขาแทน แต่โปรดอย่าคิดว่าการกระทำเช่นนั้นเป็นทางออกที่ดีนะคะ
เอ๊ะ นั่นหนูเหรอ !
เด็กวัยเตาะแตะดูจะชอบส่องกระจกเหลือเกิน ทั้งที่จริงๆ แล้วเขาไม่รู้หรอกว่าที่เห็นอยู่ตรงหน้าคือเงาสะท้อนของตัวเอง
ทำหนังสือของตัวเองกันเถอะ
หากลูกได้ลองทำหนังสือเอง รับรองว่าจะรักหนังสือขึ้นเยอะเลย
ชวนลูก สนุกกับตัวเลข
ตัวเลขก็สามารถสร้างความสนุกให้เด็กๆ ได้เหมือนกับตัวอักษรนะ เรามีวิธีเล่นเกมให้ลูกนับเล่นสนุกมาฝาก!
สอนลูกเล่นกับเพื่อน “สมมติ”
วัยเรียนรู้ของเจ้าตัวเล็กมาถึงแล้ว ตอนนี้ลูกของคุณอาจจะกำลังชอบเล่นกับเพื่อนใหม่ ซึ่งก็คือเพื่อนในจินตนาการของเขา
วิธีสยบลูกไม่ยอมนั่งในคาร์ซีต
หากลูกอาละวาดทุกครั้งที่คุณจับเขานั่งในคาร์ซีต คุณจะบังคับหรือว่ารอจนกว่าเขาจะยอมให้ความร่วมมือเอง
หนูกลัว ตัวตลก!
ถ้าคิดจะเซอร์ไพร้ส์ลูกด้วยการหาตัวตลกมาเป่าลูกโป่งแจกเด็กๆ ในงานปาร์ตี้วันเกิดครบ 2 ขวบ คงต้องคิดให้รอบคอบก่อนว่าลูกจะกลัวไหม
เปลี่ยนคำว่า ” ไม่ ” เป็น ” ได้ ” บ้างเถอะนะ
การตอบปฏิเสธลูกวัยเตาะแตะมักเป็นสิ่งที่ต้องทำ แต่วิธีนี้ก็คงทำให้ทั้งคุณและลูกเสียความรู้สึกมิใช่น้อย เพราะฉะนั้นเรามาลดจำนวนครั้งที่จะพูดคำว่า ไม่ กับลูกกันดีกว่า
วิธีสอนลูกให้พูด “ขอโทษ”
เจ้าตัวเล็กของคุณเผลอตีเพื่อนอย่างแรงเมื่อไม่พอใจ แต่กลับไม่กล่าวคำขอโทษเพื่อน
เอาล่ะสิ พี่ร้องไห้ตามน้อง
ลูกวัย 2 ขวบกว่ามักร้องไห้ทุกครั้งที่น้องคนเล็ก (2 เดือน) ร้อง จะทำอย่างไรดีคะ
ระวัง!เคี้ยวน้ำแข็ง ทำให้ฟันแตกได้
ความสนุกอย่างหนึ่งที่เจ้าตัวเล็กห้ามใจไม่ค่อยอยู่ นั่นคือ การเคี้ยวน้ำแข็งอันกรุบกรอบที่เหลืออยู่ในแก้วน้ำ
เย้ ! หนูโยนบอลเป็นแล้วนะ
เจ้าตัวเล็กของคุณอาจเชี่ยวชาญด้านการเหวี่ยงอาหารเล่นจนเละทั่วบ้านมานานเป็นเดือนๆ แล้ว
บอกลูกล่วงหน้า ก่อนพาไปหาหมอ
เด็กๆ มักไม่ชอบไปหาหมอ เพราะกลัวว่าขั้นตอนในการตรวจจะทำให้เขาเจ็บ จะโดนฉีดยา จะไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ หรือไม่ชอบสไตล์การพูดคุยของคุณหมอ