เด็ก 1-3 ปี
พัฒนาการเด็กเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรให้ความสำคัญอย่างยิ่งในวัย เด็ก 1-3 ปี เด็กจะ พูดจาโต้ตอบได้ดี เคลื่อนไหวของร่างกายได้มากขึ้น ทำตามคำสั่งง่าย ๆ ได้
จากลา(ชั่วคราว) แบบไหน ไม่เสียใจทั้งสองฝ่าย
คืนนี้คุณต้องไปงานเลี้ยงกับสามีแต่เจ้าตัวเล็กกลับงอแงไม่ยอมให้คุณไป ทั้งที่คุณเคยปล่อยให้ลูกอยู่บ้านกับพี่เลี้ยงมาก็หลายครั้ง ทำไมถึงเป็นแบบนี้ได้นะ
ชวนลูกสนุกกับตัวเลข
คุณแม่คนไหนมีลูกวัยเตาะแตะที่ชอบพูดว่า ” หนูอายุ 3 ขวบแล้ว ! แต่ชูนิ้วขึ้นมาให้ดูแค่ 2 ” บ้าง
ลูกพูดแบบนี้เหมือนใครหนอ
นอกจากความสนุกอยู่ไม่สุขของวัยเตาะแตะที่ชวนให้พ่อแม่เพลิดเพลินอยู่เสมอแล้ว วัยนี้ยังมีความพิเศษอีกอย่างที่น่าตื่นใจไม่แพ้กัน
สิ้นฤทธิ์ด้วยเสียงหัวเราะ !
การทำตลกช่วยแก้อาการแผลงฤทธิ์ได้เป็นอย่างดี เพราะปกติ เด็กวัยเตาะแตะมักชอบอะไรที่ซ้ำๆ และคาดเดาได้
เอ้า …เตรียมตัว กระโดดกัน
เคยเห็นเจ้าหนูวัยเตาะแตะทำท่าอย่างนี้หรือยัง
กระตุ้นต่อม นักเจรจา
พัฒนาการเรื่องการพูดของวัยเตาะแตะ แม้เป็นช่วงที่รู้จักคำมากขึ้นแล้ว แต่เวลาพูด เด็กวัยนี้จะยังพูดเป็นคำๆ 2-3 คำอยู่
เล่นกับน้องหมาอย่างไร… ให้ปลอดภัย
เราก็มีวิธีช่วยให้เด็กๆ และน้องหมาเล่นด้วยกันอย่างปลอดภัยได้
ช่วยลูกพัฒนาอารมณ์ ความรู้สึก
ลูกวัยสองขวบ พัฒนาการเรื่องอารมณ์จะก้าวหน้าไปอีกขั้น จากโลกที่มีแต่ตัวเขาเอง
แม่ลุกไม่ไหว แต่ก็เล่นกับลูกได้
ถ้าคุณแม่ต้องนอนอยู่บนเตียงเกือบทั้งวัน เพราะไม่สบาย เจ็บแผลผ่าตัด หรือแพ้ท้องอย่างหนัก คนที่รู้สึกแย่พอๆกันก็คือเจ้าตัวเล็กสุดที่รักของคุณนั่นเอง
เต้นกระจายแถมได้ประโยชน์
คุณแม่ทั้งหลายที่ลูกอายุได้ประมาณ 1 ขวบ 2 เดือนขึ้นไป คงชินกับการถูกเซ้าซี้ให้เปิดเพลงหรือเห็นเจ้าตัวเล็กเปิดเพลงเองบ่อยๆ
3 วิธีง้ายง่าย สอนลูกเตาะแตะแก้ปัญหาด้วยตัวเอง
การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการที่ต้องเรียนรู้สำหรับเด็กวัยเตาะแตะ เราจึงมีแนวทางการสอนลูกแก้ปัญหามาฝากค่ะ
ลูกสนใจในเรื่องขนาด
ถ้ามีโอกาสได้สังเกตเด็กๆ วัยขวบครึ่งขึ้นไปขณะกำลังเล่นคงอดขำไม่ได้
คู่ซี้วัยเตาะแตะ
ลูกน้อยวัย 2 ขวบของคุณกำลังเดินเกี่ยวก้อยชมนกชมไม้กับหนูน้อยอีกคนในวัยเดียวกันตรงสนามเด็กเล่น
เมื่อเจ้าตัวเล็กไม่ยอมขึ้นรถ (สักที)
ประโยคเหล่านี้ช่วยหลอกล่อเจ้าตัวเล็กให้ยอมขึ้นนั่งในรถ และให้คุณคาดเข็มขัดนิรภัย (แต่โดยดี) ไม่เชื่อลองดู
เผยเทคนิค สอนลูกนับเลข แบบง่ายๆ ฝึกได้ตั้งแต่เริ่มพูด
1, 2, 7… อย่าเพิ่งงงว่านี่เป็นตัวเลขอนุกรมประเภทไหนกันแน่ เพราะมันคือลักษณะของการเรียนรู้เกี่ยวกับจำนวนหรือตัวเลขของเด็กวัยเตาะแตะ
แม่ไปไหน…หนูไปด้วย
คุณมีนัดตรวจร่างกายที่โรงพยาบาล แต่ไม่มีใครช่วยเลี้ยงลูกให้ จองคิวคุณหมอไว้นานแล้ว ยกเลิกนัดคงไม่ได้ สงสัยต้องหนีบลูกน้อยไปกับคุณด้วยแล้วละ
ทำไมแม่ชอบใช้คำว่า “เรา”
เคยมีประสบการณ์แบบนี้บ้างหรือเปล่า คุณพูดกับลูกในทำนองว่า “ลูกจ๋า เรามาสวมรองเท้ากันเถอะ”
เปิดทางสร้าง นักเล่าเรื่องตัวน้อย
เมื่อเด็กอายุย่างเข้า 2 ขวบจะจดจำเรื่องที่เพิ่งผ่านไปไม่นานได้ดีขึ้น