การเลี้ยงลูก การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ ให้มีพัฒนาการ ทักษะ การเรียนรู้ ที่ดี

วิธีลดไข้ให้ลูกอย่างได้ผล!

หน้าฝนที่อากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทำให้ร่างกายลูกปรับตัวตามไม่ทัน ภูมิคุ้มกันทำงานได้ไม่เต็มที่จึงอาจทำให้ลูกเป็นหวัด และมีไข้ได้ง่ายๆ เพื่อให้ลูกไม่เจ็บป่วยจนขัดขวางพัฒนาการสำคัญ

พี่ยังไม่ทัน “มี” จะให้เอาอะไรไป “เสีย” และ “สละ”

คำสั่งสอนประเภท “เป็นพี่ต้องเสียสละ มีน้ำใจให้น้อง” เป็นคำพูดที่ไม่มีความหมายอะไร พี่อายุ 3 ขวบไม่ต้องการคำสั่งสอนประเภทนี้

ลูกน้อยปวดฟัน ช่วยบรรเทาอย่างไร

ถึงจะพยายามป้องกันอย่างเต็มที่ ก็ยังเลี่ยงปัญหาฟันผุได้ยากเต็มที แต่ก่อนจะถึงมือหมอฟัน พ่อแม่จะช่วยบรรเทาอาการปวดฟันให้ลูกได้อย่างไรบ้าง

พาตัวเล็กเที่ยวทะเลครั้งแรกอย่างไร ปลอดภัยและสนุก

Q: กำลังจะพาลูกวัย 2 ขวบ 7 เดือนไปทะเลเป็นครั้งแรกค่ะ อยากได้คำแนะนำและข้อควรระวังสำหรับการเดินทางไกลช่วงอากาศร้อนๆ และการเล่นน้ำทะเลครั้งแรกค่ะ   หากลูกยังไม่เคยไปทะเลและไม่เคยเห็นทะเลเลย การสร้างความคุ้นเคยไว้ก่อนจะช่วยได้มาก เช่น เล่าเรื่องราวสนุกๆ เกี่ยวกับทะเล ให้เขาดูรายการทีวีหรืออ่านหนังสือเกี่ยวกับทะเล และลองให้ลูกสัมผัสเม็ดทรายก่อนบ้าง   เมื่อไปถึงทะเล เด็กวัยนี้ต้องการสำรวจโลกรอบๆ ตัว รวมทั้งต้องการทำอะไรต่อมิอะไรเอง ไม่ต้องมีใครช่วย สิ่งที่คุณต้องทำคือ หาสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย คนอื่นไม่รำคาญ ให้เขาได้สำรวจ โดยมีผู้ปกครองดูแลอยู่ใกล้ๆ เป็นการให้อิสรภาพลูกอย่างมีขอบเขตในการสำรวจสิ่งรอบตัว   พาลูกลงทะเลครั้งแรก พึงรู้ว่าเด็กบางคนอาจกลัวคลื่น ไม่ว่าจะเป็นเพราะเสียงดังครืน ลมแรง หรือความแรงของคลื่นที่กระทบตัว ถ้าลูกกลัวก็อย่าบังคับให้เขาลงทะเล ใช้วิธีให้ลูกสัมผัสทะเลทีละน้อย เช่น แตะๆ ด้วยปลายเท้าก่อน แล้วค่อยๆ ให้คลื่นทะเลสัมผัสตัวลูกเพิ่มขึ้นๆ   ระวังเรื่องแสงแดดและไอร้อน มิฉะนั้นลูกอาจเป็นไข้ได้ เวลาเหมาะพาเขาไปเล่นกลางแจ้งคือตอนแดดอ่อนๆ ก่อน 10 โมงเช้าหรือหลัง 4 โมงเย็น ควรทาครีมกันแดดทั้งที่หน้าและตัวให้ทั่วก่อนออกแดดด้วย   สำคัญสุด เมื่อลูกเล่นน้ำ ไม่ว่าจะตื้นหรือลึกแค่ไหน […]

ใกล้ชิดลูก เสริมพัฒนาการวัย 1-3 ปี

เมื่อลูกย่างเข้าวัย 1-3 ปี พ่อแม่อาจจะใกล้ชิดกับเขาน้อยลงเพราะลูกเริ่มเดินได้คล่อง แต่เด็กวัยนี้ก็ยังต้องการความใกล้ชิดและเอาใจใส่จากพ่อแม่

4 สไตล์ “ติด” แม่ ลูกคุณแบบไหน

การพาลูกในช่วงวัยนี้ไปฝากศูนย์ดูแลในช่วงที่คุณไม่สะดวกดูแลเขาเป็นทางเลือกที่ทำได้ ส่วนลูกจะเข้าใจและลดอาการติดแม่ได้ช้าหรือเร็วนั้น อยู่ที่พ่อแม่เป็นสำคัญ

ช่วยลูกหกล้มอย่างไรให้ผ่านฉลุย


ก่อนอื่นอย่ามองแค่ว่าเป็นอุบัติเหตุ แต่นี่คือโอกาสที่ดีที่ช่วยให้ลูกได้จัดการกับความรู้สึกที่ยากลำบาก และช่วยเสริมสร้างความมั่นใจ

3 วิธีง่ายๆ ฝึกวินัยวัยเตาะแตะ

1. เมื่อลูกอยากได้ของเล่น ณ บัดนาว ให้ปฏิเสธทันทีแล้วปล่อยให้ร้องไห้ จากนั้นเสนอรางวัลอื่นที่ไม่ใช่สิ่งของให้แทน 2. ลูกไม่ยอมใส่เสื้อผ้าเองสักที เพื่อให้ลูกช่วยเหลือตัวเองได้ เราอาจแค่ติดกระดุมให้สักเม็ดสองเม็ด แล้วปล่อยที่เหลือให้ลูกได้จัดการเอง 3. เมื่อบอกให้ลูกเก็บของเล่น กลับปาลงพื้น แบบนี้อย่าบังคับหรือ ดุแรงๆ เด็ดขาด ลองเสนอทางเลือกอื่น หรือ บอกผลลัพธ์ที่จะได้รับหากไม่ให้ความร่วมมือ   บทความโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง

อันตราย ในบ้าน 12 สิ่งสำหรับลูกวัยใกล้ 3 ขวบ

เข้าวัยเตาะแตะ ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายของลูกก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพื่อตอบสนองความอยากรู้โลกตามวัย พอใกล้ 3 ขวบ ก็วิ่งได้ แต่สิ่งที่วัยนี้ไม่มีทางรู้ก็คือ ปลอดภัยกับอันตราย

ปวดหัวกับลูก เหวี่ยงทีไรไม่กัด ก็ตี ทุกที


ขณะที่เห็นลูกกัด หรือออกอาการใดๆ ให้พูดกับลูกด้วยท่าทีสงบ และน้ำเสียงหนักแน่น

รับมือแบบวิน-วิน เตาะแตะหัวฟัดหัวเหวี่ยง

เมื่อเข้าสู่โหมดอารมณ์โกรธแล้ว เด็กวัยนี้มักจะแสดงความโกรธออกมาทางกาย มารู้จักวงจร “ความโกรธ” ของลูก และวิธีรับมือเวลาลูกอาละวาดด้วยเหตุผลต่างๆ กันค่ะ

มาสอนลูกน้อยหัดพูดกันเถอะ


แทนที่จะกังวล เรามาช่วยกันเสริมทักษะการพูดของลูกน้อยกันดีกว่าค่ะ

เมื่อพี่ไปโรงเรียน น้องก็เหงาน่ะสิ

สำหรับบ้านที่มีลูกวัยใกล้เคียงกัน พี่น้องก็จะเล่นกัน ทะเลาะกันอยู่ทุกวัน ถึงวันหนึ่งเมื่อพี่โตไปโรงเรียนจะเกิดอะไรขึ้น

“แม่ๆๆ หนูขอกินอีกหน่อย”

คาดว่าคุณแม่ทุกท่านต้องตบเข่าฉาดถูกใจอยากกดไลค์ให้เหตุการณ์ต่อไปนี้…

“นอนกลางคืน” เรื่องต้องใส่ใจ วัย 1-3 ขวบ

การนอนกลางคืนสำคัญต่อวัยนี้อย่างไร และการนอนที่ “เหมาะสม” ของเด็กวัยเตาะแตะควรเป็นแบบไหน เรามีคำตอบมาให้คุณที่นี่!

พี่กับน้องเล่นด้วยกันได้ไหม?

ลูกชายสองคนของดิฉันอายุ 4 ขวบ และ 2 ขวบ เรื่องมีอยู่ว่า เด็กๆ แถวบ้านชอบเล่นกับลูกคนโตมากเลยค่ะ ทุกคนดูจะห้อมล้อมตัวเขาตลอดเวลา

พาลูกเล็กขึ้นเครื่องบิน เตรียมตัวอย่างไรดีนะ


วันนี้คุณแม่ท่านหนึ่งพักงานแอร์โฮสเตสไว้ข้างหลัง แต่ก็ขอนำประสบการณ์ดีๆ จากอาชีพมาแชร์เคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ที่จะทำให้เที่ยวบินอันยาวนานของคุณกับลูกน้อยผ่านไปอย่างราบรื่นมาฝากกันค่ะ

ไม่ว่าชิ้นไหน ก็เป็นของ “หนู”

“ของหนูนะ” เป็นคำพูดประจำตัวของเด็กวัยนี้ทุกคน ทั้งของตัวเอง หรือของแม่ ของพ่อ ฯลฯ ทุกอย่างเป็นของหนูได้หมด แถมพร้อมจะหอบของมากมายไปด้วยกันหมดในคราวเดียว

keyboard_arrow_up