การเลี้ยงลูก การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ ให้มีพัฒนาการ ทักษะ การเรียนรู้ ที่ดี

เสียงโทรศัพท์ดังเมื่อไหร่ ลูกสนใจหาแม่ทันที

เมื่อลูกถึงวัยปีนป่ายและเริ่มเรียนรู้โลกกว้างมากขึ้น คงปฏิเสธไม่ได้ว่าหนึ่งในพฤติกรรมที่น่าหมั่นเขี้ยว (และน่าปวดหัวในเวลาเดียวกัน)

ก่อนนอนชอบหอบของเล่นมาไว้บนเตียง

ก่อนนอนทุกคืน บนเตียงของน้องบุ๊ควัย 2 ขวบ 2 เดือน จะต้องมีผ้าห่มสีฟ้าประจำตัว ผ้าเล็กๆ อีก 4 ผืน ตุ๊กตาสัตว์นับสิบตัว หมอนรูปแมวใบคู่ใจ

ให้ลูกกินขนมหวานบ้างได้ไหม

ลูกสาวอายุ 1 ขวบค่ะ ดิฉันและสามีตกลงกันว่าจะไม่ตามใจลูกเวลาที่เขาขอกินของที่มีน้ำตาลผสมอยู่ด้วย แต่บางครั้งดิฉันก็เผลอหยิบให้เพราะอยากเอาใจเขา ควรทำอย่างไรดีคะ ดิฉันละอายใจมากๆ เลย

แต่งตัว + อาบน้ำ + กิน วัยนี้ควรทำอย่างไร

คุณอาจช่วยอำนวยความสะดวกให้ลูก ด้วยการเตรียมอุปกรณ์ที่เอื้อให้เขาลงมือทำอะไรๆ เองได้

ง่ำ ง่ำ ง่ำ เคี้ยวแต่ของไม่น่าเคี้ยว

คุณแม่น้องเกมวัย 3 ขวบ 5 เดือนกำลังกังวลใจกับพฤติกรรมการชอบเคี้ยวเสื้อตัวเอง

ไม้เด็ด สยบอารมณ์ร้ายใกล้ระเบิดของลูก

บ่ายวันหยุดที่คุณและลูกพากันไปช็อปปิ้ง คุณกำลังจะจ่ายเงินเสร็จภายใน 3 นาที แต่เจ้าตัวเล็กของคุณก็กำลังจะระเบิดอารมณ์ชนิดเต็มขั้นภายใน 1 นาทีข้างหน้านี้แล้ว และนี่คือบางสิ่งที่คุณสามารถทำได้เพื่อควบคุมสถานการณ์ในเร็วพลัน   “ลูกอย่าเพิ่งตะโกนนะ รอให้เราออกไปข้างนอกก่อน เพราะแม่จะไม่ได้ยินที่ลูกพูดเลยตอนที่อยู่ในที่คนเยอะๆ แบบนี้”   “อุ๊ย! ดูสิลูก ตอนนี้เราอยู่โซนผักผลไม้ เดี๋ยวลูกไปร้องที่โซนขนมดีมั้ย ระหว่างที่เดินไปตรงนั้น เราร้องเพลงเอบีซีไปด้วยกันนะ”   “เอามือปิดปากไว้จนกว่าเราจะไปถึงที่รถนะ อย่าเพิ่งเปิดปากนะลูก! ปิดไว้อย่าให้ใครเห็นปากลูกนะ”   “หนูช่วยถือกุญแจอันนี้ให้แม่ก่อนได้มั้ย (หรือจะเป็นอย่างอื่นก็ได้ เช่น กระเป๋าสตางค์ โทรศัพท์ แว่นตา ฯลฯ) แล้วรอให้แม่จ่ายเงินเสร็จก่อนนะ แป๊บเดียวลูก”   “รู้มั้ย ตอนที่แม่โมโหนะ แม่จะหิวมาก ลองไปหาอะไรอร่อยๆ กินกันนะ”แต่ถ้าทุกวิถีทางดูเหมือนไม่ได้ผล นั่นน่าจะเป็นเพราะความอดทนของคุณ (และลูก) เริ่มหมดแล้วละ พาลูกกลับบ้านดีกว่าค่ะ       บทความโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง

กอดอย่างไร ไม่ทำให้ลูกอึดอัด

ทำไมอยู่ดีๆ ลูกน้อยที่เคยชื่นชอบอ้อมแขนของผู้เป็นแม่ถึงดิ้นรนผลักไสทุกครั้งที่แม่พยายามจะกอดให้ชื่นใจ ลูกไม่รักแม่แล้วหรือไงนะ

วิธีเนรมิตของเล่นเก่าให้เหมือนใหม่

หากของเล่นที่เคยเล่นอยู่เป็นประจำกลับดูไม่น่าตื่นตาตื่นใจสำหรับเจ้าตัวเล็กเสียแล้ว ทั้งที่เพิ่งซื้อมาได้ไม่นาน จะปล่อยให้เป็นอย่างนี้ก็น่าเสียดาย แล้วจะจัดการกับปัญหานี้อย่างไรดีนะ

เล่น = การเรียนรู้แสนสนุก

สำหรับวัยเตาะแตะ การเล่นถือเป็นจุดเริ่มต้นพัฒนาการที่สำคัญ ยิ่งถ้าคุณร่วมเล่นด้วยแล้วละก็ ยิ่งสนุก มีความสุขไปเสียหมด

พูดเบาๆ หน่อยสิลูก

เด็กๆ ชอบทำเสียงดัง (มาก…ก) กันทุกคน ทั้งกรี๊ดทั้งตะโกนเวลาตื่นเต้นหรือต้องการเรียกร้องความสนใจ ทั้งที่พูดด้วยความดังปกติก็ได้ แล้วจะสอนลูกอย่างไรดี

สร้างวินัยการกินให้ลูกกันเถอะ

คุณแม่นันเล่าให้ฟังว่า “ลูกเพิ่งกินข้าวเสร็จไม่นานก็บ่นว่าหิวอีกแล้ว แม้ตอนนี้ลูกจะไม่อ้วน แต่แม่กลัวว่าถ้าให้ลูกกินอย่างที่ขอทั้งหมด ต้องกลายเป็นเจ้าหนูตุ้ยนุ้ยแน่ๆ”

สอนลูกเล่นกับเพื่อน “สมมติ”

วัยเรียนรู้ของเจ้าตัวเล็กมาถึงแล้ว ตอนนี้ลูกของคุณอาจจะกำลังชอบเล่นกับเพื่อนใหม่ ซึ่งก็คือเพื่อนในจินตนาการของเขา

เมื่อลูกต้องนอน “ต่างที่”

การต้องนอนในที่ใหม่ๆ ที่ไม่ใช่บ้านเช่น ศูนย์รับเลี้ยงเด็กหรือบ้านญาติพี่น้อง

“คำไหน” ไม่ควรพูดกับลูก

วิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงลูกให้เป็นเด็กดี นั่นคือมีทัศนคติเชิงบวกเมื่อพูดคุยกับลูก

ทีวีจะมีประโยชน์ ถ้าเลือกรายการ

คุณแม่หลายท่านปล่อยให้ลูกดูโทรทัศน์อยู่คนเดียว เพราะคิดว่า “ปล่อยไว้หน้าทีวีไม่เป็นไรหรอก รายการนี้เป็นของเด็ก แถมเราจะได้มีเวลา

เมื่อหนูไม่รู้จักคำว่า “รอ”

คงเป็นเรื่องน่าปวดหัวไม่ใช่เล่นสำหรับคุณพ่อคุณแม่ เมื่อต้องรับมือกับอาการ “จะเอาเดี๋ยวนี้” ของเจ้าตัวเล็ก

ทำหนังสือของตัวเองกันเถอะ

หากลูกได้ลองทำหนังสือเอง รับรองว่าจะรักหนังสือขึ้นเยอะเลย

เปลี่ยนลูกให้เป็น ศิลปินตัวน้อย

ถ้าคุณเห็นลูกน้อยอายุ 1 ขวบหรือเพิ่งเริ่มเดิน สนใจหยิบดินสอ ปากกามาขีดเขียน อาจสงสัยว่าตัวแค่นี้จะทำงานศิลปะแล้วหรือ

keyboard_arrow_up