การเลี้ยงลูก การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ ให้มีพัฒนาการ ทักษะ การเรียนรู้ ที่ดี

ช่วยลูกปีนป่ายอย่างปลอดภัย

การปีนป่ายเป็นขั้นหนึ่งของพัฒนาการที่สำคัญ เป็นบันไดเชื่อมไปถึงการพัฒนาทักษะอื่น เช่น การก้าวเดิน ช่วงนี้นอกจากพ่อแม่อาจต้องให้ลูกอยู่ในสายตาแล้ว ยังต้องเตรียมบ้านให้ปลอดภัยด้วย

จากลา(ชั่วคราว) แบบไหน ไม่เสียใจทั้งสองฝ่าย

คืนนี้คุณต้องไปงานเลี้ยงกับสามีแต่เจ้าตัวเล็กกลับงอแงไม่ยอมให้คุณไป ทั้งที่คุณเคยปล่อยให้ลูกอยู่บ้านกับพี่เลี้ยงมาก็หลายครั้ง ทำไมถึงเป็นแบบนี้ได้นะ

สิ้นฤทธิ์ด้วยเสียงหัวเราะ !

การทำตลกช่วยแก้อาการแผลงฤทธิ์ได้เป็นอย่างดี เพราะปกติ เด็กวัยเตาะแตะมักชอบอะไรที่ซ้ำๆ และคาดเดาได้

เล่นกับน้องหมาอย่างไร… ให้ปลอดภัย

เราก็มีวิธีช่วยให้เด็กๆ และน้องหมาเล่นด้วยกันอย่างปลอดภัยได้

ช่วยลูกพัฒนาอารมณ์ ความรู้สึก

ลูกวัยสองขวบ พัฒนาการเรื่องอารมณ์จะก้าวหน้าไปอีกขั้น จากโลกที่มีแต่ตัวเขาเอง

แม่ลุกไม่ไหว แต่ก็เล่นกับลูกได้

ถ้าคุณแม่ต้องนอนอยู่บนเตียงเกือบทั้งวัน เพราะไม่สบาย เจ็บแผลผ่าตัด หรือแพ้ท้องอย่างหนัก คนที่รู้สึกแย่พอๆกันก็คือเจ้าตัวเล็กสุดที่รักของคุณนั่นเอง

เมื่อเจ้าตัวเล็กไม่ยอมขึ้นรถ (สักที)

ประโยคเหล่านี้ช่วยหลอกล่อเจ้าตัวเล็กให้ยอมขึ้นนั่งในรถ และให้คุณคาดเข็มขัดนิรภัย (แต่โดยดี) ไม่เชื่อลองดู

ทำไมแม่ชอบใช้คำว่า “เรา”

เคยมีประสบการณ์แบบนี้บ้างหรือเปล่า คุณพูดกับลูกในทำนองว่า “ลูกจ๋า เรามาสวมรองเท้ากันเถอะ”

วิธีหลอกล่อให้เปลี่ยนเสื้อผ้า

ปกติเด็กๆ ก็ว่านอนสอนง่ายนะ แต่พอจะพาเขาออกไปข้างนอกทีไร ต้องมีการบังคับเรื่องเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกที

วิธีถอยลูกห่างจากขวดนม


เหตุที่ให้เด็กเลิกขวดนม เพราะถ้ายังดื่มนมจากขวด เมื่อถึงวัยที่กินอาหารอื่นได้แล้ว เขาอาจจะเลือกดื่มนมมากกว่ากินอาหาร

วิธีพาลูกหนีจากอาการขี้อาย & ขี้กลัว

เด็กวัยเตาะแตะบางคนอาจปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆ ได้ยาก รู้สึกเขินอายตื่นกลัวเวลาพบเจอคนแปลกหน้า

วิธีดูแลผมลูกอย่างอ่อนโยน

ลูกสาวเกิดมาพร้อมกับผมที่หนาและพันกันง่ายค่ะ มีคำแนะนำดีๆ ในการจัดแต่งทรงผมให้ลูกน้อยง่ายขึ้นอย่างไรบ้างคะ

ก่อนพาลูกเล็กออกนอกบ้าน ท่อง 5 ข้อนี้ให้ขึ้นใจ

ภัยเกี่ยวกับเด็กๆเดี๋ยวนี้รุนแรงเสียจน ไว้ใจอะไรไม่ได้และต้องเฝ้าระวังทุกฝีก้าว ด้วยเหตุนี้เราจึงมี 5 วิธีการ ป้องกัน ระวังภัย สำหรับเตือนใจคุณพ่อคุณแม่ เมื่อต้องพาลูกเล็กเดินทางค่ะ

ระวัง!!! “ประโยคอันตราย” บาดใจลูก

เรารู้ว่าพ่อแม่ย่อมไม่อยากสร้างรอยแผลในใจลูกน้อย ด้วยคำพูดพลั้งปากไม่กี่คำจากอารมณ์แรงเพียงชั่วครู่

ไม่ควรพูดกับลูก ด้วย 4 ประโยคนี้ เพราะทำร้ายจิตใจเด็ก

ประโยคที่ไม่ควรพูดกับลูก กับวัยที่แม่เผลอพูดประโยคทำร้ายจิตใจเจ้าตัวเล็กช่างคุย ชวนปวดประสาทและทำให้ฉันคลั่ง!จนระเบิดคำร้ายๆออกไป “เลิกถามโง่ๆสักที ออกไปซะ อย่าทำให้แม่โกรธไปกว่านี้” ลูกต่างทำหน้าเหวอและร้องไห้จนแม่รู้สึกว่า ไม่น่าพูดคำนี้ออกไปเลย

ไม่ต้อง “ขู่” หนูก็เชื่อฟังแม่ ด้วย 4 วิธีทำได้ง่ายๆ

หากคุณแม่ต้องงัดสิ่งที่เขากลัวขึ้นมาขู่จึงจะยอมเชื่อที่เราพูดคงไม่ดีแน่ เพราะการ “ขู่ลูก” เป็นวิธีที่ไม่เหมาะนัก แล้วจะห้ามปรามลูกยังไงดี?

3 วิธีพลิกบทลงโทษลูก ให้สุขสันต์หรรษา

ลองมาดูตัวอย่างของการเพิ่มลูกเล่น เปลี่ยนเทคนิคแก้ทางพฤติกรรมที่ไม่น่าพึงใจเวลาลูกๆ เกิดเฮี้ยวที่ทดสอบแล้วว่าได้ผลกันดีกว่า

ลูกซนมาก ปล่อยให้เล่นแค่ไหนถึงปลอดภัย?

มีคำจำกัดความหลากหลายเมื่อลูกน้อยเข้าสู่ช่วงวัย 1 -3 ขวบ วัยสำรวจโลก วัยเตาะแตะ วัยซน วัยต่อต้าน แม้กระทั่ง วัยเสี่ยง เพราะนี่คือธรรมชาติแห่งวัยแท้ๆ ทีเดียว แต่ควรดีลกำลังลูกกำลังพัฒนาความเข้มแข็งเฉลียวฉลาด เขาจึงเต็มเปี่ยมไปด้วยความกระตือรือร้นและความอยากรู้อยากเห็น

keyboard_arrow_up