พัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ
พัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ เป็นช่วงเวลาที่สมองเติบโตและพัฒนาอย่างรวดเร็ว พัฒนาการด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา และเคล็ดลับสร้างพัฒนาการที่ดีสำหรับเด็กเตาะแตะ
พี่ตุ๊กตาถูกทิ้งซะแล้ว
ลูกสาวตัวน้อยๆ ของคุณรักพี่เอลโม่มากๆ เกาะติดเป็นแฝดสยาม แต่แล้วทำไมจู่ๆ วันหนึ่งพี่เอลโม่กลับมานอนแอ้งแม้งอมฝุ่นอยู่กับพื้นเสียได้
หนูกินช้า (มาก) ไปแล้วนะ
ถ้าลูกเป็นคนที่กินข้าวเสร็จช้าที่สุดในบ้าน คนอื่นอิ่มกันหมดแล้วก็ยังนั่งกินคนเดียวได้ตั้งนาน เพราะอยากนั่งกินไปเรื่อยๆ จนกระทั่งอิ่ม จะทำให้ลูกกินเร็วขึ้นได้อย่างไร
รู้จักและเข้าใจ ความ “กลัว” ของวัยเตาะแตะ
ความกลัวของเด็กวัย 1 ขวบขึ้นไปจะซับซ้อนขึ้น ส่วนหนึ่งก็มาจากพัฒนาการของลูกน้อยเอง ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ควรเข้าใจ มาเรียนรู้สาเหตุและวิธีการปลอบใจเมื่อลูก “กลัว” กันค่ะ
5 กระบวนรับมือคุณหนูจอมกรี๊ด
พ่อแม่หลายคนปวดแก้วหูไม่หยอกยามได้ยินลูกรักส่งเสียงกรีดร้องหรือตะโกนไปทั่ว ในขณะที่เจ้าหนูวัยนี้กลับชอบนักละที่ได้ทดสอบพลังเสียงของตัวเอง
ตัวแค่นี้ แยกของเล่นเป็นแล้วนะ
น้องเนเน่ วัย 3 ขวบ มักชอบเอาดินสอสีทั้งหมดที่มีเทลงบนพื้น แล้วก็จัดการแยกให้เป็นระเบียบเสียใหม่
เด็กวัยนี้…ดราม่าขั้นสุด
แม่ไม่เคยให้หนูกินอะไรเล้ย น้องต้นน้ำวัย 3 ขวบตะโกนใส่คุณแม่ หนูจะอดอาหารตายอยู่แล้วน้า !จริงๆ แล้วก็แค่ไม่มีอาหารที่ถูกปากน้องต้นน้ำเท่านั้นแหละ
ไม่เอา…..หนูไม่พูด
ใครๆก็อยากคุยกับลูกน้อยแสนน่ารักของคุณกันทั้งนั้น “หนูอายุกี่ขวบแล้วจ๊ะ” “ว้าว! รองเท้าน่ารักจัง” แต่ถึงลูกจะรู้ว่าตัวเองอายุเท่าไรและรู้จักพูดขอบคุณแล้ว เขาก็ไม่ยอมตอบซะงั้น
สยบลูกช่างกัด
ถ้าลูกใช้วิธี กัด ทุกครั้งที่ตื่นเต้น โกรธ หรือไม่ได้ดังใจเราจะสอนเขาด้วยการกัดคืนบ้างดีไหมนะ
ลูกชายหวงแม่ที่สุด
ลูกชายหวงแม่มากเลยค่ะ ทุกครั้งที่เห็นพ่อแกล้งเข้ามากอดแม่ เขาจะรีบเข้ามาขวาง แถมยังบ่นไม่หยุดอีกตั้งนาน แรกๆ ก็ดูน่ารักดี แต่ตอนนี้ชักเริ่มกังวลแล้ว
เมื่อลูกอยากทดสอบ ” ขนาด “
น้องดราก้อนวัย 1 ขวบ 9 เดือน ค้นตู้เจอรองเท้าบู๊ตสำหรับขี่ม้าคู่เก่าแก่ของคุณพ่อ จึงหย่อนเท้าน้อยๆ ลงไป
ชวนแม่เข้าใจความกลัวของลูก
น้องจุ๊บอายุ 3 ขวบ ได้เห็นตุ๊กตาหนูตัวใหญ่ในงานวันเกิดของคุณน้า น้องจุ๊บร้องไห้จ้าจนต้องพักยกงานเลี้ยง คุณแม่ต้องพาออกมานั่งกินขนมอยู่อีกห้องหนึ่ง
ทำยังไงดี ลูกชอบดึงผมตัวเอง
ลูกสาววัย 1 ขวบกว่าชอบดึงผมตัวเองเวลาไม่ได้ดั่งใจไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไรคะ
หนูแค่ดูหน้า…ก็รู้แล้ว
อยากบอกลูกว่า “อย่าทำแบบนั้นได้ไหม!” แต่ช้าก่อน…ออมเสียงไว้ก่อน ลองขมวดคิ้วแทนดีกว่า
ลูกไม่ยอมให้กอดแล้ว
ตอนยังแบเบาะลูกชอบให้กอดมากๆ แต่ตอนนี้กลับผลักตัวออกทุกครั้งเมื่อเราพยายามจะกอดลูก ควรทำอย่างไรดี
อย่าจั๊กจี้ หนูแรงนะ
เวลาที่เราอยากให้เด็กหัวเราะ วิธีที่ง่ายที่สุดเห็นจะได้แก่ การเข้าไปจั๊กจี้เขา แต่สำหรับเด็กบางคนการหัวเราะหลังถูกจั๊กจี้ไม่ได้สะท้อนถึงความสุขของเจ้าตัวเสมอไป
เมื่อลูกเตาะแตะวีนเวลาทำอะไรไม่ได้ดังใจ ทำไงดี!
เวลาวาดรูปหรือต่อบล็อกแล้วไม่ได้อย่างใจคิด เด็กวัยนี้มักหงุดหงิด จนถึงขั้นร้องบ้านแตก จะป้องกันสถานการณ์อันไม่พึงประสงค์แบบนี้อย่างไรดี
มือเดียวไม่เคยพอ
ทำไมทั้งสองมือของเด็กวัยเตาะแตะดูจะไม่เคยว่าง ทำไมต้องกำหรือหอบหิ้วอะไรอยู่ตลอด
หนูกลัว ตัวตลก!
ถ้าคิดจะเซอร์ไพร้ส์ลูกด้วยการหาตัวตลกมาเป่าลูกโป่งแจกเด็กๆ ในงานปาร์ตี้วันเกิดครบ 2 ขวบ คงต้องคิดให้รอบคอบก่อนว่าลูกจะกลัวไหม