พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล 3-6 ปี รวมเคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการ พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล ทำให้ลูกได้เรียนรู้การช่วยเหลือตนเอง การอยู่ร่วมกับเพื่อน พัฒนาการเด็กวัย 3-6 ปี
เช้าไม่อยากไป เย็นไม่อยากกลับ เอ๊ะ! ยังไง
น้องพีทอาละวาดแผลงฤทธิ์ไม่อยากไปโรงเรียนทุกเช้าเลย แต่พอคุณแม่ไปรับตอนบ่ายๆ หนูน้อยกลับดูมีความสุขดี แถมบางทียังไม่อยากกลับบ้านเสียด้วยซ้ำ เขาไม่ชอบโรงเรียนนี้หรือเปล่านะ
คุยโทรศัพท์น้อยๆ หน่อยนะแม่
เรื่องเก่าที่มักได้ยินคุณแม่บ่นจนชินหูคงหนีไม่พ้น ทันทีที่หยิบโทรศัพท์ขึ้นมารับ ลูกวัยอนุบาลเป็นต้องปรากฏกายขึ้นมาแถวๆ นั้น
สามคนอลเวง เฮ้อ! ปวดหัว
น้องแป้งวัย 4 ขวบ สนุกสุดใจเสมอเวลาชวนเพื่อนสักคนมาเล่นที่บ้าน คุณแม่ปูเลยลองชวนเพื่อนของลูกมาพร้อมกันสองคน คิดว่าเด็กๆ จะเพลิดเพลินกันมากขึ้น ที่ไหนได้…กลับกลายเป็นชั่วโมงวิกฤต (ของคุณแม่) ไปเสียอย่างนั้น
รับมือ เมื่อเห็นลูกโป๊ อยู่กับเพื่อน(ต่างเพศ)
ความอยากรู้อยากเห็น โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างชาย – หญิง ก็เป็นแรงผลักดันที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เด็กๆอยากรู้ว่า ในตัวเพื่อนของแกมีอะไรที่เหมือนหรือต่างกันบ้าง
เมื่อโลกของหนู “กลับหัวกลับหาง”
น้องอีวาตัดสินใจ เปลี่ยนมุมมอง ที่มีต่อโลกใบน้อยของเธอตอน 4 ขวบ อยู่ดีๆ ลูกสาวฉันก็ชอบห้อยหัวตลอดเวลาเลยละค่ะ
สอนลูกให้รู้จักเล่นแรงๆ แต่พองาม
ลูกวัยอนุบาลของคุณชอบเล่นมวยปล้ำ ปืนฉีดน้ำ หรือเอารถของเล่นมาชนกันบ้างหรือเปล่า
วิธีเลิกนิสัยลูกเล็กชอบเล่นของกิน
คุณเคยเจอเหตุการณ์แบบนี้ไหมคะ ระหว่างรับประทานอาหารเย็น อยู่ๆ เจ้าจอมซนวัยก่อนเรียนก็เอาช้อนเขี่ยข้าวเล่นแถมไม่เขี่ยเปล่า เอาผัดผักมาละเลงรวมกับน้ำจิ้มไก่ทอดเป็นภาพศิลป์บนจานอาหารอีกต่างหาก
สอนลูกมองโลกแง่บวก
เพิ่งมีผลการวิจัยออกมาไม่นานนี้ว่า เด็กที่มองโลกแง่ดีนั้นมีเปอร์เซ็นต์เรียนเก่งกว่า และมีปัญหาด้านสุขภาพน้อยกว่าเด็กที่วันๆ เอาแต่คิดเรื่องแย่ๆ ตั้งเยอะ
เมื่อลูกอนุบาลตามไม่ทันเพื่อน ทำอย่างไรดี
ถ้าคุณครูอนุบาลบอกว่าลูกคุณช้ากว่าเพื่อนๆ ในห้อง แปลว่าลูกเรามีปัญหาอะไรหรือเปล่า แล้วควรทำอย่างไรเพื่อช่วยลูกดีนะ?
ลูกใครเป็นบ้าง.. ชอบแทะ “แขนเสื้อ” หรือ “หางเปีย” ของตัวเอง
แม่รู้ว่าลูกอาจยังชอบหยิบทุกอย่างเข้าปาก แต่ทำไมพอโตแล้วหนูถึงชอบแทะหางเปียของตัวเองหรือชายแขนเสื้อมากกว่าอย่างอื่นล่ะจ๊ะลูก
5 สัญญาณบ่งชี้ ลูกอาจอ่านหนังสือไม่คล่อง
1. ลูกไม่สนใจหนังสือใดๆ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน หนังสือนิทาน หรือแม้แต่การ์ตูน 2. ลูกทำท่าฮึดฮัดหงุดหงิดทุกครั้งที่ต้องอ่านหนังสือ 3. ลูกมีปัญหาทุกครั้งที่ทำการบ้าน 4. ออกเสียงคำผิด / เรียงประโยคผิด หรือเข้าใจความหมายของคำผิดอยู่บ่อยๆ 5. ไม่ยอมอ่านหนังสือต่อหน้าพ่อแม่หรือผู้ใหญ่เลยสักครั้ง ถ้ามีสัญญาณดังกล่าวปรากฏให้เห็น ขอแนะนำให้พูดคุยหารือกับคุณครูประจำชั้นของลูกโดยไม่รอช้า เพื่อช่วยกันหาวิธีการช่วยเหลือลูกต่อไป บทความโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง
6 วิธีรับมือ ลูกจอมกัด
พยายามดึงจอมกัดออกมาก่อนที่ฟันคมๆ จะงับผิวนุ่มๆ (แต่อย่าตกใจจนเกินเหตุ เพราะจะทำให้ลูกติดนิสัยว่า หากทำรุนแรงเมื่อไร เขาได้รับความสนใจจากคุณเมื่อนั้น)
อยากรู้ (ไปซะ) ทุกเรื่อง
น้องชมพู่ วัย 5 ขวบ อยากรู้ทุกเรื่อง ทุกครั้งที่คุณแม่ของเธอวางหูโทรศัพท์ พร้อมรัวคำถามว่า ใครโทร.มา เขาจะให้แม่ทำอะไร แล้วเขาพูดอะไรบ้าง ฯลฯ
หากเด็กพิเศษถูกวิจารณ์ หรือ ตำหนิ เราควรจะ…
เป็นเรื่องธรรมดาที่พ่อแม่มักถูกวิจารณ์หรือตำหนิเมื่อลูกทำตัวไม่น่ารักในที่สาธารณะแต่พ่อแม่ที่ลูกเป็นเด็กพิเศษจะมีปัญหากับเรื่องนี้มากกว่าคนอื่นๆ เพราะไม่มีใครรับรู้ว่าพวกเขาได้พยายามทำดีที่สุดแล้ว
ควรกังวลไหม? หากลูกชอบฉี่รดที่นอน
ลูกอายุ 5 ขวบกว่าแล้ว แต่ยังฉี่รดที่นอนเกือบทุกคืน ทั้งๆ ที่ให้เขาฉี่ตอนก่อนนอนแล้วและไม่ได้ให้กินน้ำหรือนมอีก มีอะไรผิดปกติหรือเปล่าและจะทำอย่างไรดี
ลูกอ่านหนังสือไม่ออก มีภาวะดิสเล็กเซีย (Dyslexia) หรือเปล่า?
รายงานจากกรมสามัญศึกษาชี้ว่า กว่า 20 % ของนักเรียนทุกระดับชั้นในประเทศไทย กำลังประสบปัญหาเกี่ยวกับการอ่านและการตีความโจทย์คณิตศาสตร์ ซึ่งมีสาเหตุหนึ่งมาจาก ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ หรือ Dyslexia อาการที่คุณแม่ชาวไทยอาจยังไม่คุ้นหูนัก
วิธีจัดการพี่จอมบงการ
“ไม่ใช่นะ เบนต้องต่อบล็อกแบบนี้ต่างหากล่ะ!” น้องแนนวัย 5 ขวบครึ่งร้องสั่งน้องวัย 2 ขวบ คุณพ่อไม่ชอบพฤติกรรมแบบนี้เลย “น้องแนนทำเหมือนเป็นครูฝึกทหารเกณฑ์ไม่มีผิด”
วัยนี้เอาตัวรอดกันเก่งจริงนะ
คุณแม่จีน โกรธแทบควันอกหูเมื่อพบว่าจีน่า ลูกสาววัย 3 ขวบ กับเพื่อนอีกคนของหนูน้อยกำลังโชว์ผลงานศิลปะฝาผนังบนผนังห้อง