เทคนิค สอนลูกฉลาดและเป็นคนดี ให้ลูกเป็นคนเก่งและเป็นคนดีของสังคม

สอนลูกเข้าใจเรื่อง “เวลา”

เมื่อเข้าวัยก่อนเรียน ถึงจะยังดูนาฬิกาไม่คล่อง แต่เด็กๆ ส่วนใหญ่ก็เข้าใจเรื่อง“ระยะเวลา” หรือ “ช่วงเวลา” ได้แล้ว

5 สัญญาณบ่งชี้ “ลูกมีปัญหากับการเรียนเลข”

• ร้องไห้หรือหงุดหงิดทุกครั้งที่ทำกิจกรรมเกี่ยวกับตัวเลข   • มีปัญหากับการจดจำตัวเลข   • มีปัญหากับการบ่งชี้รูปร่างของสิ่งของ (สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม) แม้ว่าจะท่องจำหลายครั้งแล้ว   • มีปัญหากับการแยกซ้าย – ขวา   • กระสับกระส่าย และไม่สามารถนั่งนานๆ ได้   สัญญาณเหล่านี้ไม่ได้หมายความว่า ลูกของคุณมีปัญหาด้านการเรียนรู้เสมอไป บางครั้งการถูกผลักดันมากเกินไป ก็อาจทำให้หนูๆ รู้สึกไม่พร้อมที่จะเรียนได้เหมือนกันนะ     บทความโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง

กล้ามเนื้อแขน และหัวไหล่แข็งแรงได้ด้วยการฝึกขว้างบอล

จากวัยเตาะแตะที่หนูๆ ทำได้เพียงโยนบอลโดยใช้แขนและข้อศอก เมื่อเข้าวัย 3 – 5 ขวบ ตอนนี้พวกเขาสามารถขว้างบอลข้ามศีรษะได้แล้ว

สอนลูกเรื่องการกลั่นแกล้ง ด้วยแอปเปิ้ล 2 ลูก

ปัจจุบันการแกล้งกันในโรงเรียน กลายเป็นปัญหาที่ไม่เล็ก มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น สร้างความกังวลให้พ่อแม่ไม่น้อย แล้วเราจะ สอนลูกเรื่องการกลั่นแกล้ง ได้อย่างไร

สร้างความมั่นใจ เมื่อไปโรงเรียน

หากคุณแม่กำลังกังวลเมื่อลูกรักจะไปโรงเรียน (หลายคนบอกว่าตื่นเต้นมากกว่าเจ้าตัวเสียอีก) เรามีวิธีง่ายๆ ที่จะทำให้ลูกก้าวไปสู่อีกสังคมได้อย่างมั่นใจ

วิธีฝึกลูกให้ออกจากบ้านเร็วขึ้น

ที่จริงแล้วลูกไม่ได้อืดอาดหรอก เพียงแต่เขาเคลื่อนไหวในความเร็วแบบเด็กๆ เท่านั้นเอง

สารพัดวิธีสร้างนักอ่านตัวจิ๋ว

โทนเสียงสร้างความสนุก การอ่านหนังสือเป็นจังหวะ มีเสียงสูง – ต่ำ จะช่วยพัฒนาทักษะด้านการพูดของลูก

ฝึกพัฒนาการด้านการอ่านของวัย 3-6 ปี

เริ่มจดจำคำที่เหมือนกันได้ เพราะเด็กในวัยนี้จะเริ่มเรียนรู้หน้าตาของทั้งคำมากกว่าตัวอักษรแต่ละตัว

หลากวิธี ช่วยย่นระยะคิดถึง ปู่ย่าตายาย กับ หลานรัก

ลูกๆ ของคุณอาจจะได้เจอคุณปู่คุณย่าหรือคุณตาคุณยายในวันหยุดยาวอย่างสงกรานต์หรือช่วงปีใหม่ ส่วนเวลาตลอดทั้งปีที่เหลือ พวกเขาอาจจะแทบไม่ได้พบพวกท่านเลย

เกมสนุก ฝึกทักษะ “สมดุล”

พอพ้นวัยเตาะแตะ เจ้าจอมซนทั้งหลายก็เดิน – วิ่งและหยิบจับข้าวของได้คล่องแคล่วแล้ว ถึงเวลามาฝึกทักษะ “ความสมดุล” ซึ่งต้องอาศัยการทำงานของอวัยวะหลายๆ ส่วนพร้อมกันเสียที

ทำไม “ขี้อาย” อย่างนี้ล่ะลูก

ทำไมหนอ เวลาออกไปนอกบ้านทีไรเจ้าตัวเล็กเป็นต้องแอบหลบอยู่หลังพ่อแม่เสียทุกที จะแก้นิสัยนี้ของลูกอย่างไรดีนะ?

3 เทคนิคแก้นิสัย เมื่อลูก “ขอ” ทุกอย่างที่ขวางหน้า

หากเกรงว่าลูกจะกลายเป็นพวกวัตถุนิยม ลองใช้เทคนิคเหล่านี้สร้างความเข้มแข็งทางจิตใจให้ลูกดูนะคะ

ฝึกลูก “ผูกเชือกรองเท้า”

เรื่องหนึ่งที่ผู้ใหญ่เห็นเป็นของกล้วยๆ แต่สำหรับหนูๆ วัยเรียนถือเป็นภารกิจสุดหินที่ต้องใช้ทั้งความอดทนและการฝึกฝน

เกมส์ตัวเลขมหาสนุก


เพราะคณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำคัญของศาสตร์อื่นๆ อีกมากมาย หากลูกมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์เขาจะได้ประโยชน์ติดตัวอีกมากในระยะยาว อยากจะให้เด็กๆ รู้สึกดีกับตัวเลข ก็ต้องทำให้เป็นเรื่องสนุก

3 เรื่อง (คิดว่า) เล็ก ที่ไม่ควรให้ลูกเล็กติดนิสัย

ถึงแม้เด็กในวัย 1-6 ขวบยังเล็ก แต่คุณพ่อ คุณแม่ก็ไม่ควรปล่อยปละละเลยพฤติกรรมที่ไม่ดีบางอย่างของลูกน้อย การไม่ตักเตือน ไม่อธิบายว่าสิ่งที่ลูกทำนั้นมันผิดอย่างไร อาจส่งผลให้ลูกคิดว่าทำแล้วไม่เป็นไร และไม่คิดว่าผิด จนทำให้ ลูกทำผิดเป็นนิสัย ทำให้อยู่ยากในสังคม

กลับบ้านสักทีเถอะลูก!

คุณแม่จะต้องปวดหัวกับลูกหลังเลิกเรียนแทบจะทุกวันเลยค่ะ เพราะเขาเอาแต่เล่นในสนามจนไม่ยอมกลับบ้าน

5 เทคนิคชวนลูกช่วยงานบ้าน

ตอนช่วงวัยเด็กเล็ก หนูๆ ส่วนใหญ่ชอบช่วยงานบ้านเพราะเห็นเป็นเรื่องสนุก แต่พอพวกเขาโตพอจะช่วยหยิบจับอะไรได้ กลับบ่นงึมงำเวลาต้องทำงานบ้านเสียนี่

ลูกไม่รู้จักคำว่า น้ำใจนักกีฬา

พอลูกชายวัย 4 ขวบเล่นเกมชนะน้อง หรือเล่นฟุตบอลแล้ววิ่งแซงเพื่อนไปทำประตูได้ เขาจะแสดงท่าทางดีใจแบบข่มอีกฝ่ายอย่างมาก ดิฉันควรสอนลูกอย่างไรดีคะ

keyboard_arrow_up