น้ำคร่ำแตก
น้ำเดิน หรือ น้ำคร่ำแตก อาการเป็นแบบไหน? และควรทำอย่างไร!!
พอได้ยินคำว่า เมื่อ น้ำเดิน หรือ น้ำคร่ำแตก ฟังดูน่ากลัวไม่น้อยสำหรับคุณแม่ท้องมือใหม่ เพราะนึกภาพไว้ว่าคงจะแตกเหมือนลูกโป่งที่บรรจุน้ำไว้เต็มแล้วแตกดังโพละ แต่ความจริงนั้นแตกอย่างไร แบบไหน เราจะไขข้อสงสัยให้ค่ะ
ลูกติดเชื้อในกระแสเลือดอันตราย แต่ป้องกันได้
คุณพ่อ คุณแม่คงรู้จักกันดีกับคำว่าติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งพบได้ในข่าวโรคภัย และประสบการณ์ของคุณแม่หลายคน แม่น้องเล็กเองก็เกิดความวิตกกังวลว่าลูกของเราจะมีโอกาสเป็นด้วยหรือไม่ เรามาอ่านความรู้จากคุณหมอว่า ติดเชื้อในกระแสเลือดอันตราย แค่ไหน?
น้ำคร่ำแตก เป็นอย่างไร? แตกต่างกับกลั้นปัสสาวะไม่อยู่หรือไม่
คุณแม่ที่ท้องลูกน้อยวัยใกล้คลอดหลายท่านอาจจะยังแยกไม่ออกว่าอาการที่น้ำออกมาทางช่องคลอดแบบไหนคือ น้ำคร่ำแตก หรือ กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เพราะไตรมาสสุดท้ายของคุณแม่ท้อง ศีรษะของทารกจะลงมากดบริเวณกระเพาะปัสสาวะ ทำให้เกิดอาการปัสสาวะเล็ดได้
สัปดาห์ที่ 31 : เจ็บเหมือนจะคลอด
ในไตรมาสที่ 3 นี้ คุณแม่มักจะประสบกับอาการที่เรียกว่า เจ็บท้องหลอก (Braxton Hick Contraction) เป็นการซ้อมหดรัดตัวของมดลูกเท่านั้น โดยจะเกิดขึ้นแบบไม่สม่ำเสมอและไม่มีอาการเจ็บ ซึ่งแตกต่างจากการเจ็บท้องจริง