อย่าเพิ่งดัดขาลูก!โรค ขาโก่ง ในเด็กต้องรักษาห้ามดัด

ขาโก่ง ในเด็กตามธรรมชาติเป็นเรื่องที่ไม่แปลกนักสามารถหายเองได้ แต่สำหรับเด็กที่เกิน 2ขวบแล้วยังคงมีอาการต้องเฝ้าระวังโรคเบร้าท์ ที่การดัดขาลูกไม่ได้ช่วยอะไร

ลูกขาโก่ง ภัยแฝงในเด็ก ทำอย่างไร แก้ไขอย่างไร

คุณพ่อคุณแม่ หรือครอบครัวไหนที่เพิ่งจะมีลูกน้อย แล้วสังเกตเห็นว่า ลูกขาโก่ง อันตรายกว่าที่คิดนะคะ จะทำอย่างไร ดูแลรักษาอย่างไร มาติดตามกันค่ะ

ระวัง เป้อุ้มทารก เลือกไม่ดีเด็กอาจสันหลังเคลื่อนข้อสะโพกหลุด

เป้อุ้มทารก อุปกรณ์ช่วยผ่อนแรงในการอุ้มลูก แต่รู้หรือไม่หากใช้ไม่ถูกวิธีมีอันตรายแฝง มาดูวิธีเลือกซื้อ และวิธีใช้งานที่ถูกต้องป้องกันสันหลัง และข้อสะโพกหลุด

คลิปป้าหมอสอน “ทารก ขาโก่ง” ดูอย่างไร? ต้องดัดขาไหม?

ทารก ขาโก่ง พบได้ในเด็กแรกเกิดทุกคน ซึ่งภาวะนี้ทำให้แม่ ๆ กังวลใจไม่น้อยว่า ลูกจะขาโก่งเมื่อโตขึ้น ทีมงานมีคำแนะนำจากป้าหมอ สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ มาฝากค่ะ

ระวัง! “ลูกกระดูกหัก” ไม่รู้ตัว สังเกตสัญญาณ ขาโก่ง-บวม-ไม่ขยับ

สังเกตให้ดี “ลูกกระดูกหัก” หรือเปล่า? โรคกระดูกหักในเด็กเป็นภาวะที่พบได้บ่อย เนื่องจากวัยเด็กเป็นวัยที่กำลังซุกซนและมีกิจกรรมมากทำให้มีโอกาสบาดเจ็บได้ง่าย

10 ความเชื่อแปลกๆ เกี่ยวกับลูกเบบี๋ที่แม่ควรรู้!

หลายต่อหลายบ้านกำลังเตรียมตัวต้อนรับสมาชิกน้อยๆ คนใหม่ คุณพ่อคุณแม่ป้ายแดงซึ่งอยู่ในช่วงพะวักพะวงคงได้ตัวช่วยเป็นคำบอกเล่าประเภทว่ากันว่า จากผู้มีประสบการณ์บ้าง ผู้หวังดีบ้าง ฟังแล้วก็น่าคิด

ขาโก่งเข้า (Knock knee) อันตรายแค่ไหน

พอเจ้าตัวเล็กเข้าวัย 2-3 ขวบ คุณพ่อคุณแม่หลายคนอาจสังเกตเห็นว่าขาของหนูมีลักษณะผิดปกติ เมื่อลูกยืนกางขา แยกเท้าห่าง หัวเข่ากลับโค้งเข้าหากัน เป็นอันตรายหรือเปล่านะ?

ไขข้อข้องใจ ลูกทารก “ขาโก่ง” ผิดปกติไหม?

คุณพ่อคุณแม่หลายท่านที่มีลูกวัยทารกอาจกำลังกังวลเพราะสังเกตเห็นว่า ลูกขาโก่ง ลูกจะหายเองไหม ต้องดัดขาให้ลูกหรือเปล่าจะได้หาย เรามาดูคำตอบจากคุณหมอกันค่ะ

keyboard_arrow_up