ตั้งครรภ์
โภชนาการก่อนตั้งครรภ์ ลดความเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด
โภชนาการดี ก่อนตั้งครรภ์ ลดความเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด You are what you eat !! ยังคงเป็นข้อความที่ถูกต้องและแท้จริงเสมอสำหรับสุขภาพของคนเราตลอดกาล
ตั้งครรภ์ 39-40 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 39-40 สัปดาห์ ถือเป็นสัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์แล้ว คุณแม่คงจะทั้งตื่นเต้นที่ได้เห็นหน้าลูกและกังวลใจเรื่องการคลอดไปพร้อมกัน
ตั้งครรภ์ 37-38 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 37-38 สัปดาห์ นี้ สำหรับคุณแม่อาจรู้สึกอึดอัด หายใจไม่สะดวกมากขึ้นเพราะท้องลด รวมทั้งคุณหมออาจจะนัดคุณแม่เพื่อตรวจถี่ขึ้นด้วย
ตั้งครรภ์ 35-36 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 35-36 สัปดาห์ ในช่วงนี้ถือเป็นช่วงเวลาที่คุณแม่ใกล้จะได้เห็นหน้าลูกน้อยกันแล้ว มาดูกันค่ะว่า คุณแม่ และลูกน้อยเป็นอย่างไรบ้าง
ตั้งครรภ์ 33-34 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 33-34 สัปดาห์ เป็นช่วงที่คุณแม่ใกล้คลอดเข้ามาทุกที โดยคุณแม่บางท่านจะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์เตือนกันแล้ว
เทคโนโลยีใหม่ ตรวจครรภ์เป็นพิษ รวดเร็ว แม่นยำ
เทคโนโลยีใหม่ ตรวจความเสี่ยงครรภ์เป็นพิษ รู้เร็ว รู้ไว คุณอาจไม่ทราบว่า… คุณแม่ตั้งครรภ์ในประเทศไทยมีภาวะครรภ์เป็นพิษถึง 5-8%
รวมวิธีดูแลตัวเองง่ายๆ เมื่อ แม่ท้อง ไม่สบาย
ยาม แม่ท้อง ไม่สบาย เจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ควรดูแลตัวเองเบื้องต้นอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันจากป่วยเล็กๆ ไม่ให้กลายเป็นเรื่องใหญ่
ตั้งครรภ์ 31-32 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 31-32 สัปดาห์ ถือว่าเข้าสู่ช่วงไตรมาสสามนี้ เป็นช่วงที่คุณแม่ใกล้สู่ ประตูห้องคลอดเข้าไปทุกที ด้วยครรภ์ที่ใหญ่ขึ้น ทำให้นอนไม่หลับ
ตั้งครรภ์ 29-30 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
ในช่วงสัปดาห์นี้ พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 29-30 สัปดาห์ ลูกสาวและลูกชายของคุณแม่จะเริ่มหล่อและสวยขึ้นค่ะ ลูกรักจะมีผมที่ดกดำขึ้น แถมยังมีไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น
คลอดก่อนกำหนด อันตราย กว่าที่คิด!!!
คลอดก่อนกำหนด อันตราย กว่าที่คิด ในช่วงวันที่ 17 พฤศจิกายนของทุกปี องค์การอนามัยโลกกำหนดให้เป็นวันเด็กคลอดก่อนกำหนดโลก เนื่องจากเป็นปัญหาหลักของทั่วโลก
Checklist วัคซีน สำหรับคนท้อง
Checklist วัคซีน สำหรับคนท้อง มาลองเช็คดูสิว่า คุณแม่ท้องฉีดวัคซีนเหล่านี้ครบแล้วหรือยัง ซึ่งนี่ก็เป็นอีกเรื่องที่ว่าที่คุณแม่มือใหม่ลืมไม่ได้เลย
3 โรคยอดฮิต ของแม่ท้อง
3 อันดับโรคยอดฮิตที่มักเกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ ที่แม่ท้อง ไม่ควรตามเทรนด์ การตั้งครรภ์ปกติ ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ ถือเป็นเรื่องน่ายินดี
ตั้งครรภ์ 23-24 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 23-24 สัปดาห์ ของคุณแม่ จะมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายหลายอย่างที่น่าสนใจ ทั้งสายตา เส้นผม และผิวพรรณ รวมถึงการกินวิตามินและทำสีผม
โลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก ในแม่ตั้งครรภ์
โลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก ในแม่ตั้งครรภ์ คุณแม่ท้องต้องการธาตุเหล็กมากกว่าคนทั่วไป เพราะร่างกายต้องนำมาสร้างรกและทารก สร้างเลือดให้แม่ เพราะฉะนั้นการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ โลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก ในแม่ตั้งครรภ์ โรคโลหิตจาง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุหนึ่งที่พบได้บ่อยในคุณแม่ตั้งครรภ์ คือ โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งผลกระทบที่เกิดกับคุณแม่และลูกน้อยจึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรละเลยเด็ดขาด โลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็ก ในแม่ตั้งครรภ์ จะมีผลกระทบต่อลูกและคุณแม่อย่างไรบ้าง โรคโลหิตจาง หมายถึง โรคจากสาเหตุต่างๆ ที่ทำให้เกิดภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงน้อยจนทำให้เกิดอาการผิดปกติต่างๆ ขึ้น โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ก็หมายถึง ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงน้อยจากการขาดธาตุเหล็ก พบได้มาก ประมาณการณ์ว่ามีคนร้อยละ 1-2 เป็นโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก แต่หากรวมผู้ที่โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กแต่ไม่มีอาการ พบประมาณร้อยละ 12 โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์หลายอย่างคือ เพิ่มความเสี่ยงในการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ลูกในครรภ์น้ำหนักน้อย ลูกในครรภ์มีโลหิตจาง หากโลหิตจางมาก อาจทำให้เกิดน้ำคร่ำน้อย ซึ่งทำให้เด็กเสียชีวิตในครรภ์ได้ นอกจากนั้นยังอาจเกิดอันตรายกับมารดาในช่วงคลอด เพราะอาจตกเลือดจนเสียชีวิตได้ค่ะ ทำไมแม่ท้องจึงเสี่ยง โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เพราะการตั้งครรภ์ทั่วไปจะทำให้เกิดโลหิตจางในช่วงไตรมาสที่สอง ซึ่งช่วงนั้น น้ำเหลือง (พลาสม่า) จะเพิ่มมากกว่าเม็ดเลือดแดง ทำให้เสมือนว่าเม็ดเลือดแดงซึ่งอยู่ในน้ำเหลืองมีจำนวนน้อยลง อีกทั้งธาตุเหล็กจากการรับประทานอาหารมักไม่เพียงพอ เนื่องจากคุณแม่ตั้งครรภ์ต้องการธาตุเหล็กมากกว่าปกติ […]
ตั้งครรภ์ 21-22 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 21-22 สัปดาห์ ในช่วงนี้คุณแม่อาจมีอาการแสบร้อนกลางอก มีปัญหาระบบการย่อยอาหาร นั่นเป็นเพราะท้องที่ใหญ่ขึ้น
เบาหวานก่อนตั้งครรภ์ VS เบาหวานขณะตั้งครรภ์
เบาหวานก่อนตั้งครรภ์ VS เบาหวานขณะตั้งครรภ์ โรคเบาหวานในประเทศไทยปัจจุบันพบมากขึ้น อาจเป็นเพราะมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมร่วมกับสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
ตั้งครรภ์ 19-20 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 19-20 สัปดาห์ เป็นช่วงเวลาครึ่งทางของการตั้งครรภ์แล้วค่ะ จากนี้ไปคุณแม่จะสามารถสื่อสารกับลูกน้อยในครรภ์ได้มากขึ้น ท้องคุณแม่ใหญ่ขึ้น
ตั้งครรภ์ 5-6 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
จากช่วงสัปดาห์ก่อนไม่ค่อยแน่ใจ แต่เมื่อเข้าสู่การตั้งครรภ์5-6 สัปดาห์แล้ว จะเริ่มมีสัญญาณบ่งบอกที่ชัดเจนขึ้น จนรู้สึกเอะใจว่าคราวนี้สงสัยจะท้องชัวร์แน่ๆ