เอาแต่ใจ
พาลูกเข้าห้างยังไงไม่ให้เสียเงินโดยไม่ตั้งตัว
ถึงวัยที่ลูกไปไหนมาไหนมากับคุณได้มากขึ้น โดยเฉพาะสถานที่เสี่ยง (เสียทรัพย์) กับของล่อตาล่อใจ อย่าง ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต หรือตลาด
พ่อแม่ต้องเปิดใจ “ฟังเสียง” ลูกวัย 8-12 ขวบ
เด็กในวัยนี้ทั้งร่างกายและจิตใจของเขากำลังเปลี่ยนแปลง ลูกเริ่มมีความคิดเป็นของตัวเอง และต้องการอิสรภาพ ฟังเราน้อยลง ให้ความสำคัญกับเพื่อนมากขึ้น เริ่มโต้เถียงมากกว่าเดิม แล้วพ่อแม่จะทำอย่างไรได้บ้างเพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นมารในสายตาลูก
รับมือเจ้าหนูจำไมจอมดื้อ วัย 3-5 ขวบ
พฤติกรรมแต่ละอย่างของลูกวัยนี้ ทำให้พ่อแม่ปวดหัวได้ง่าย มาดูกันว่ามีพฤติกรรมอะไรบ้างและมีวิธีรับมือได้อย่างไร ก่อนจะกวนอารมณ์คุณพ่อคุณแม่ให้ขุ่น
ถ้าหนูร้อง..ต้องได้ พ่อแม่ต้องรู้วิธีรับมือ
ช่วงนี้พอพาลูกไปที่ไหนก็ตาม เขาจะต้องร้องให้คุณแม่ซื้อของให้เสมอ และจะยิ่งออกอาการโวยวายถ้าไม่ได้ของ ไม่อยากตามใจลูกเลย จะทำอย่างไรดีคะ
เมื่อคำว่า “ใช่” กลายเป็น “ไม่”
เมื่อลูกยังเล็กเขาอาจตอบคุณทุกอย่างว่า “ไม่” ไม่ว่าจะเป็น ไม่เอา ไม่กิน ไม่ใช่ ไม่ไป ฯลฯ แต่เมื่อโตขึ้นลูกก็ดูมีทีท่าตอบรับคุณมากขึ้น แต่จะรู้ได้อย่างไรว่าเขาตกลงกับเราจริงหรือเปล่า
กฎ 3 ข้อรับมือลูกเล็กร้องไห้เอาแต่ใจให้ได้ผล!
ทำไมเด็กๆ ถึงชอบร้องไห้คร่ำครวญเสมอ? ก็เพราะการร้องไห้งอแงเป็นวิธีที่ได้ผลที่สุด (สำหรับคุณอาจจะน่ากวนใจที่สุด) ที่จะเรียกร้องความสนใจจากคุณพ่อคุณแม่น่ะสิ!
จัดการเตาะแตะ “กัด” ระบายความโกรธ
ลูกอาจ “กัด” เพื่อพยายามทำให้คุณสนใจหรือเพื่อระบายความโกรธ หรือเพราะไม่เข้าใจเหตุผลเมื่อถูกบังคับ ถ้าไม่ควรดุว่า แล้วควรทำอย่างไรดี
ลูกซนมาก ปล่อยให้เล่นแค่ไหนถึงปลอดภัย?
มีคำจำกัดความหลากหลายเมื่อลูกน้อยเข้าสู่ช่วงวัย 1 -3 ขวบ วัยสำรวจโลก วัยเตาะแตะ วัยซน วัยต่อต้าน แม้กระทั่ง วัยเสี่ยง เพราะนี่คือธรรมชาติแห่งวัยแท้ๆ ทีเดียว แต่ควรดีลกำลังลูกกำลังพัฒนาความเข้มแข็งเฉลียวฉลาด เขาจึงเต็มเปี่ยมไปด้วยความกระตือรือร้นและความอยากรู้อยากเห็น
ตามใจลูก จนเสียเด็ก เรื่องไม่เล็กต้องระวัง!
ทุกวันนี้การเอาใจ ตามใจลูก กำลังเป็นประเด็นที่ผู้คนหยิบยกมาถกเถียงกันมากขึ้น ทำให้คุณพ่อคุณแม่หลายคนต้องตริตรองกันให้จริงจัง เพราะการตามใจลูกอย่างง่ายดาย เช่น เมื่อลูกน้อยอยากได้ของเล่นก็ซื้อให้ได้ในทันที อาจจะส่งผลต่อเนื่องเลยเถิดไป จนลูกน้อยกลายเป็นคนเอาแต่ใจโดยไม่รู้ตัว