อาหารติดคอ – AMARIN Baby And Kids – เพื่อลูกฉลาดและมีความสุข

CPR คือ อะไร? เรียนรู้ไว้ กู้ภัยให้ลูกรักปลอดภัยเมื่อสำลัก

CPR คือ Cardio Pulmonary Resuscitation การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เป็นการช่วยผู้ที่กำลังจะหยุดหายใจ หรือหัวใจกำลังจะหยุดเต้น ให้ปอดและหัวใจฟื้นคืนชีพขึ้นมา

ลูก สำลัก เรื่องเล็กที่คร่าชีวิตได้ พ่อแม่ต้องรู้วิธีช่วย

สำลัก เรื่องใกล้ตัวที่ดูเหมือนเรื่องเล็ก แต่หากช่วยไม่ทันอาจสูญเสียถึงขั้นตายได้ ขอเชิญชวนพ่อแม่มาเรียนรู้วิธีปฐมพยาบาลเมื่อลูกสำลัก รู้ไว้ปลอดภัยกว่า!!

อุทาหรณ์! อาหารติดหลอดลม เด็ก 2 ขวบดับจากเม็ดมะขามติดคอ

เด็กเล็กอยู่ในวัยที่ยังเคี้ยวและกลืนอาหารได้ไม่ชำนาญเท่าผู้ใหญ่ การป้อนอาหารที่มีขนาดใหญ่ หรือมีเมล็ด ก็อาจทำให้ อาหารติดหลอดลม ได้ 

พ่อโพสต์เตือน! น้ำแข็งก้อน เกือบพรากชีวิตลูกไป

เด็กบ้านไหนชอบกิน น้ำแข็งก้อน ระวังให้ดี! ตามมาอ่านอุทาหรณ์คุณพ่อเล่าประสบการณ์ปฐมพยาบาล! เมื่อ น้ำแข็งก้อน ติดคอลูก หากไม่รีบทำแบบนี้…ก็อาจต้องเสียลูกไป

การปฐมพยาบาลและทำ CPR เมื่อ อาหารติดคอ ลูกน้อย

อาหารติดคอ เป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายมากๆค่ะ โดยเฉพาะกับเด็กเล็ก ดังนั้นหากคุณพ่อคุณแม่เรียนรู้วิธีการช่วยเหลือเมื่อลูกอาหารติดคอ ก็อาจจะสามารถช่วยให้ลูกน้อยรอดพ้นจากอันตรายถึงชีวิตได้

อุทาหรณ์ เยลลี่ติดคอลูกสาวจนตาเหลือก

อุทาหรณ์ เยลลี่ติดคอลูกสาวจนตาเหลือก คุณพ่อนักร้องชื่อดังจากรายการ the mask singer เอ๊ะ จิรากร ได้เขียนเล่าถึงเหตุการณ์ที่น่าตกใจ ลูกสาวน้องเอญ่า ทานขนมเยลลี่แล้วเกิดติดคอจนตัวแข็ง ตาเหลือก ทีมงาน Amarin Baby & Kids มีเรื่องราวอุทาหรณ์ครั้งนี้ พร้อมวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้อง เมื่อเกิดมีอาหารติดคอ หรือเกิดการสำลัก มาให้ฝากค่ะ

ไส้กรอกอันเดียว เกือบทำให้ลูกน้อยเสียชีวิต

เรื่องนี้เป็นประสบการณ์ของคุณแม่ท่านหนึ่ง ที่เล่าให้ฟังถึงเหตุการณ์ ไส้กรอกอันเดียว เกือบทำให้ลูกน้อยเสียชีวิต เรื่องเริ่มขึ้นในเช้าวันหนึ่ง ซึ่งเป็นเวลาของการรับประทานอาหารเช้า กับลูกสาววัย 1 ขวบ คุณแม่อุ้มลูกนั่งไว้บนตัก และยื่นไส้กรอกธรรมดาๆ อันเล็กๆ ให้ลูกน้อย 1 อัน

อุทาหรณ์ เกือบเสียลูกรักเพราะลูกไม่ยอมเคี้ยว

มีประสบการณ์หนึ่งจากคุณแม่ ที่โพสต์เล่าเหตุการณ์เอาไว้เป็นอุทาหรณ์ เมื่อลูกรักของคุณแม่ รับประทานมะม่วงเข้าไปแต่ ไม่ยอมเคี้ยว ซึ่งปกติคุณแม่จะหั่นผลไม้ให้ลูกน้อยหยิบรับประทานเองเป็นชิ้นเล็กๆ ลูกน้อยฟันขึ้น 10 ซี่แล้ว จึงสามารถเคี้ยวได้ แต่ปัญหาคือลูกน้อยไม่ชอบเคี้ยว

ลูกไม่เคี้ยวข้าว กลืนอย่างเดียว ทำไงดี?

เมื่อลูกน้อยอายุครบ 6 เดือน คุณแม่มักเป็นกังวลห่วงว่าลูกจะรับประทานอาหารติดคอ บางคนจึงให้ลูกน้อยรับประทานแต่ของเหลว จนอาจทำให้ ลูกไม่เคี้ยวข้าว ในอนาคตได้

keyboard_arrow_up